myRSS by MyReadyWeb.com http://www.myreadyweb.com/ ข้อมูลล่าสุดของบทความ en-us ฟรี!! เว็บสำเร็จรูป สร้างเว็บ ทําเว็บ สร้างเว็บไซต์ ทําเว็บไซต์ รับทําเว็บไซต์ ทำเว็บ การสร้างเว็บไซต์ http://www.myreadyweb.com/ http://www.myreadyweb.com/images/front/logo-print.jpg 240 66 ทําเว็บ สร้างเว็บ ด้วยสุดยอดระบบ เว็บสำเร็จรูป การสร้างเว็บไซต์ ทําเว็บไซต์ จะเป็นเรื่องง่ายๆ ฟรี สร้างเว็บ ทำเว็บ สร้างเว็บไซต์ ที่ MyReadyWeb.com การเลี้ยงไก่พื้นเมือง http://rajsimafarm.myreadyweb.com/article/topic-18378.html <div class="art-PostContent"> <div class="art-article"> <p><span style="font-family: arial,helvetica,sans-serif;"><span style="font-size: medium;"><span style="color: #800000;"><img border="0" src="http://www.dld.go.th/pvlo_sgk/th/images/stories/botkwam/pungtonang1.1.jpg" style="float: left;" />การเลี้ยงไก่เศรษฐกิจพอเพียงพื้นฐานแบบพึ่งตนเอง</span></span></span></p> <p><span style="font-family: arial,helvetica,sans-serif;"><span style="font-size: medium;"><span style="color: #003300;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การเลี้ยงไก่พื้นเมืองของชาวบ้านเป็นการเลี้ยงแบบปล่อยให้หาอาหารกินเองตาม ธรรมชาติ ซึ่งเป็นระบบที่เหมาะสมไก่พื้นเมืองผ่านการคัดเลือกจนเหมาะสมกับสภาพแวดล้อม แบบนี้มาหลายร้อยปีแล้ว จึงเลี้ยงง่าย ทนทาน ทำให้ชาวบ้านพึ่งตนเองได้ การที่จะให้ชาวบ้านเลี้ยงไก่พื้นเมืองแบบขังคอกตลอดนั้นเป็นไปไม่ได้ทาง เศรษฐกิจ เพราะจะทำให้เพิ่มต้นทุนการเลี้ยงขายได้ไม่คุ้มกับการลงทุน และทำให้ต้องพึ่งพาอาหารผสมจากแหล่งภายนอกเพิ่มเติม ไม่สามารถพึ่งพาตนได้</span></span></span></p> <p><span style="font-family: arial,helvetica,sans-serif;"><span style="font-size: medium;"><span style="color: #003300;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <img border="0" height="194" src="http://www.dld.go.th/pvlo_sgk/th/images/stories/botkwam/pungtonang1.jpg" width="259" />&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <img border="0" height="194" src="http://www.dld.go.th/pvlo_sgk/th/images/stories/botkwam/pungtonang2.jpg" width="259" /></span></span></span></p> <p><span style="font-family: arial,helvetica,sans-serif;"><span style="font-size: medium;"><span style="color: #003300;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; เกษตรกรไทยส่วนหนึ่ง เช่นชาวไทยภูเขา อาศัยอยู่ในพื้นที่ป่าเขาที่ห่างไกลและเป็นแหล่งต้นน้ำลำธารที่สำคัญ ทางคมนาคมถูกตัดขาดในหน้าฝน แม้แต่ในหน้าแล้งก็ยังสามารถออกมาติดต่อกับโลกภายนอกได้ยาก จึงต้องดำรงชีพด้วยการเกษตรแบบยังชีพพึ่งพาปัจจัยจากโลกภายนอกได้</span></span></span></p> <p><span style="font-family: arial,helvetica,sans-serif;"><span style="font-size: medium;"><span style="color: #003300;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; อาหารโปรตีนอาจเพาะเองได้แก่ปลวก การทำบ่อเพาะปลวกได้แก่</span></span></span></p> <p><span style="font-family: arial,helvetica,sans-serif;"><span style="font-size: medium;"><span style="color: #003300;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1.ขุดดินหน้ากว้าง 0.50 เมตร ยาว&nbsp; 0.70 เมตร ลึก 0.30 เมตร</span></span></span></p> <p><span style="font-family: arial,helvetica,sans-serif;"><span style="font-size: medium;"><span style="color: #003300;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2.ตัดไม้เนื้ออ่อนเป็นท่อน นำมาวางก้นหลุม วางเป็นลูกระนาด</span></span></span></p> <p><span style="font-family: arial,helvetica,sans-serif;"><span style="font-size: medium;"><span style="color: #003300;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 3.นำมูลสัตว์แห้ง มาโรยลงบนกองไม้ให้ทั่วแล้วพรมน้ำให้พอชื้น</span></span></span></p> <p><span style="font-family: arial,helvetica,sans-serif;"><span style="font-size: medium;"><span style="color: #003300;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 4.นำฟาง ใบไม้ หญ้าแห้ง หรือกระดาษกล่องวางทับหน้า</span></span></span></p> <p><span style="font-family: arial,helvetica,sans-serif;"><span style="font-size: medium;"><span style="color: #003300;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 5.ทำตามขั้นตอน 2, 3 และ 4 ซ้ำอีก 1 ชั้น</span></span></span></p> <p><span style="font-family: arial,helvetica,sans-serif;"><span style="font-size: medium;"><span style="color: #003300;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 6.เสร็จแล้วคลุมด้วยกระสอบป่าน ทิ้งไว้ประมาณ 3-5 วัน ปลวกจะมาอาศัยอยู่</span></span></span></p> <p style="text-align: center;"><span style="font-family: arial,helvetica,sans-serif;"><span style="font-size: medium;"><span style="color: #003300;"><img border="0" src="http://www.dld.go.th/pvlo_sgk/th/images/stories/botkwam/pungtonang3.jpg" /></span></span></span></p> <p><span style="font-family: arial,helvetica,sans-serif;"><span style="font-size: medium;"><span style="color: #003300;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; แมลงเป็นอาหารโปรตีนและพลังงานเสริมในการเลี้ยงไก่ได้ คุณค่าทางโภชนาการของแมลงกินได้ 8 ชนิด ได้แก่ จิ้งโกร่ง จิ้งหรีด ดักแด้ไหม ตั๊กแตนปาทังก้า ตัวอ่อนของต่อแมลงกินูน แมงป่องและหนอนไม้ไผ่</span></span></span></p> <p style="text-align: center;"><span style="font-family: arial,helvetica,sans-serif;"><span style="font-size: medium;"><span style="color: #003300;"><img border="0" src="http://www.dld.go.th/pvlo_sgk/th/images/stories/botkwam/pungtonang4.jpg" />&nbsp;&nbsp;&nbsp; <img border="0" src="http://www.dld.go.th/pvlo_sgk/th/images/stories/botkwam/pungtonang5.bmp" /></span></span></span></p> <p><span style="font-family: arial,helvetica,sans-serif;"><span style="font-size: medium;"><span style="color: #003300;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การใช้อาหารที่เกษตรกรมีอยู่ช่วยเพิ่มผลผลิตได้ เช่นข้าวเปลือก ข้าวโพด หรือมันเส้น ทำให้มีขนาดเล็กลงโดยการตำหรือบดให้เป็นอาหารเสริม ชาวบ้านที่อยู่ชายป่าอาจหาอาหารจากป่า เช่นหัวบุก กลอย กล้วยป่า มาเป็นแหล่งอาหารพลังงาน การหมักก่อนจะเพิ่มคุณค่าทางอาหารหรือไม่ ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจที่ได้เมื่อเปรียบเทียบกับการขายผลผลิตเหล่านี้ในแต่ละ ช่วงเวลาเป็นอย่างไร การให้ผลิตอาหารโปรตีนเองเช่น ใบมันสำปะหลัง ใบกระถิน ใบพืชตระกูลถั่วอื่นๆ การเพาะเลี้ยงไส้เดือนและปลวก เป็นต้น</span></span></span></p> <p><span style="font-family: arial,helvetica,sans-serif;"><span style="font-size: medium;"><span style="color: #003300;">&nbsp;</span></span></span><span style="font-size: medium;"><span style="color: #800000;">อ้างอิงจาก&nbsp; หนังสือความหลากหลายทางชีวภาพกับการผลิตปศุสัตว์ ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของยอดชาย ทองไทยนันท์</span></span></p> </div> </div> Tue, 23 Jul 2013 18:40:00 +0700 พิธีปล่อยพันธุ์ปลาน้ำจืดเนื่องในวันพระราชสมภพ http://rajsimafarm.myreadyweb.com/article/topic-19178.html <h4 align="left"> <strong><span style="color:#0000cd;">10.30 น. วันที่ 20 กรกฏาคม 2555นายนิรันดร์ อุตมัง ผู้ประสานงานโครงการโลกต่างใบใจเดียวกัน CAT TELECOM THAILAND ประธานศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ศูนย์ฝึกโรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย&nbsp; ร่วมด้วยนายนิพนธ์ สมัครค้า หัวหน้ากลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี ที่ปรึกษาศูนย์ นายรณชัย สังข์ศรี หัวคณะทำงาน น้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พร้อมด้วยนายจักรพงษ์ ศรีอภัย นางนิตยา จิตต์กุล นายบูญลือ ชาญโพธิ์ นักเรียน และคณะผู้ติดตาม นายบันเทอง วิธิตร&nbsp; บก.รด.รส.มทบ.21 ร่วมปล่อยพันธุ์ปลาน้ำจืด จำนวน 4,000 ตัว โดยความอนุเคราะห์พันธุ์ปลานิล,ปลาตะเพียน,ปลาทับทิม&nbsp; จากศูนย์วิจัยประมง (อ่างห้วยยาง) จังหวัดนครราชสีมา ลงในร่องสวนสาธิต ภายในศูนย์การเรียนรู้ฯ เพื่อเป็นการศึกษาและเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชสยามมงกุฏราชกุมารเนื่องในวันพระราชสมภพ 28 กรกฎาคม และเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระบรมราชินีนาถ 12 สิงหาคม ขอให้ทรงพระเจริญยิ่งยืนนาน&nbsp;&nbsp;</span><br /> <span style="color:#2f4f4f;">ข้อมูลเกี่ยวการเลี้ยงปลานิล</span><br /> <span style="color:#2f4f4f;">การเลี้ยงปลานิลในร่องสวน/บ่อดิน</span></strong></h4> <p align="left"> <span style="color:#2f4f4f;">1. กำจัดวัชพืชและพันธุ์ไม้น้ำต่าง ๆ เช่น กก หญ้า ผักตบชวาให้หมดโดยนำมา กองสุมไว้แห้ง แล้วนำมาใช้เป็นปุ๋ยหมักในขณะที่ปล่อยปลาลงเลี้ยง ถ้าในบ่อเก่ามีเลนมากจำเป็นต้องสาดเลนขึ้นโดยนำ ไปเสริมคัดดินที่ชำรุด หรือใช้เป็นปุ๋ยแก่พืช ผัก ผลไม้ บริเวณไกล้เคียงพร้อมทั้งตกแต่ง เชิงลาดและ คัด ดินให้แน่นด้วย</span></p> <p> <span style="color:#2f4f4f;">กำจัดศัตรู ศัตรูของปลานิล ได้แก่ ปลาจำพวกกินเนื้อ เช่นปลาช่อน ปลาชะโด ปลาหมอ ปลาดุก นอกจากนี้ก็มีสัตว์จำพวก กบ เขียด งู เป็นต้น ดังนั้น ก่อนที่จะปล่อยปลานิลลงเลี้ยงจึงจำเป็นต้องกำจัด ศัตรูดังกล่าวเสียก่อนโดยวิธีระบายน้ำออกให้เหลือน้อยที่สุด การกำจัดศัตรูของปลาอาจ ใช้โล่ติ๊นสด หรือแห้ง ประมาณ 1 กิโลกรัม ปริมาณของน้ำในบ่อ 100 ลูกบาศก์เมตร คือทุบหรือบดโล่ติ๊นให้ละเอียด นำลงแช่น้ำประมาณ 1-2 ปี๊บ ขยำโล่ติ๊นเพื่อให้น้ำสีขาวออกมาหลาย ๆ ครั้งจนหมดนำไปสาดให้ทั่วบ่อ ศัตรูพวกปลาจะลอยหัวขึ้นมาภายหลังโล่ติ๊นประมาณ 30 นาที ใช้สวิงจับขึ้นมาใช้บริโภคได้ที่เหลือตาย พื้นบ่อจะลอยในวันรุ่งขึ้นส่วนศัตรูจำพวกกบเขียดงู จะหนีออกจากบ่อไป และก่อนปล่อยปลาลงเลี้ยงควร จะทิ้งระยะไว้ประมาณ 7 วัน เพื่อให้ฤทธิ์ของโล่ติ๊นสลายตัวไปหมดเสียก่อน</span></p> <p align="center"> <span style="color:#2f4f4f;"><img alt="จำหน่ายพันธุ์ปลานิล" height="199" src="http://www.bestfish4u.com/fish-information/best-fish-information-26.jpg" width="316" /></span></p> <p align="center"> <span style="color:#2f4f4f;">มวนกรรเชียง เป็นศัตรูปลาชนิดหนึ่ง</span></p> <p align="left"> <span style="color:#2f4f4f;">2. การใส่ปุ๋ย โดยปกติแล้วอุปนิสัยในการกินอาหารของปลานิลจะกินอาหารจำพวกแพลงก์ตอนพืช และศัตว์ เศษวัสดุเน่าเปื่อยตามพื้นบ่อ แหน สาหร่าย ฯลฯ ดังนั้น ในบ่อเลี้ยงปลาควรให้อาหารธรรมชาติ ดังกล่าวเกิดขึ้นอยู่เสมอ จึงจำเป็นต้องใส่ปุ๋ยลงไปเพื่อละลายเป็นธาตุอาหาร ซึ่งพืชน้ำขนาด เล็กจำเป็น ใช้ในการปรุงอาหารและเจริญเติบโตโดยกระบวนการสังเคราะห์แสง ซึ่งเป็นโซ่อาหาร อันดับต่อไป คือ แพลงก์ตอนสัตว์ ได้แก่ ไร่น้ำ และตัวอ่อนของแมลง ปุ๋ยที่ใช้ได้แก่มูลวัว ความย หมู เป็ด ไก่ นอกจากปุ๋ย ที่ได้จากมูลสัตว์แล้วก็อาจใช้ปุ๋ยหมักจำพวกหญ้าและฟางข้าวปุ๋ยสดต่าง ๆ ได้เช่นเดียวกัน</span></p> <p> <span style="color:#2f4f4f;">อัตราส่วนการใส่ปุ๋ยคอกในระยะแรก ควรใส่ประมาณ 250-300 กก./ไร่/เดือน ส่วนในระยะหลัง ควรลดลงเพียงครึ่งหนึ่ง หรือสังเกตจากสีของน้ำในบ่อ ถ้ายังมีสีเขียวอ่อนแสดงว่ามีอาหารธรรมชาติ เพียงพอ ถ้าน้ำใส่ปราศจากอาหาร ธรรมชาติก็เพิ่มอัตราส่วนให้มากขึ้น และในกรณีที่หาปุ๋ยคอกไม่ได้ก็ อาจใช้ปุ๋ยวิทยาศาสตร์ สูตร 15 : 15 : 15 ใส่ประมาณ 5 กก./ไร่/เดือน ก็ได้ วิธีใส่ปุ๋ย ถ้าเป็นปุ๋ยคอกควรตาก บ่อให้แห้งเสียก่อน เพราะปุ๋ยสดจะทำให้น้ำมีแก๊สจำพวกแอมโมเนียละลายอยู่น้ำหนักมากเป็นอัตราย ต่อ ปลา การใส่ปุ๋ยคอกใช้วิธีหว่านลงไปในบ่อให้ละลายน้ำทั่ว ๆ บ่อ ส่วนปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยสดนั้นควร กองสุมไว้ ตามมุมบ่อ 2-3 แห่ง โดยมีไม้ปักล้อมเป็นคอกรอบกองปุ๋ยเพื่อป้องกันมิให้ส่วนที่ยังไม่สลายตัว กระจัดกระจาย</span></p> <p> <span style="color:#2f4f4f;">3. อัตราปล่อยปลาเลี้ยงในบ่อดิน ขึ้นอยู่กับคุณภาพน้ำ อาหาร และการจัดการเป็นสำคัญ โดยทั่วไป จะปล่อยลูกปลาขนาด 3-5 ซม. ลงเลี้ยงในอัตรา 1-3 ตัว/ตารางเมตร หรือ 2,000 - 5,000 ตัว/ไร่</span></p> <p> <span style="color:#2f4f4f;">4. การไอ้หาร การใส่ปุ๋ยเป็นการให้อาหารแก่ปลานิลที่สำคัญมากวิธีหนึ่งเพราะจะได้อาหาร ธรรมชาติ ที่มีโปรตีนสูงและราคาถูก แต่เพื่อเป็นการเร่งให้ปลาที่เลี้ยงเจริญเติบโตขึ้นหรือถูกต้องตามหลัก วิชาการ จึงควรให้อาหารจำพวกคาร์โบไฮเดรทเป็นอาหารสมทบด้วย เช่น รำ ปลายข้าว กากมะพร้าว มันสำปะหลัง หั่นต้ม ให้สุกและเศษเหลือของอาหารที่มีโปรตีนสูงเช่นกากถั่วเหลืองจากโรงทำเต้าหู้ กาก ถั่วลิสง อาหารผสมซึ่งมีปลาป่น รำข้าว ปลายข้าว มีจำนวนโปรตีนประมาณ 20% เศษอาหารที่เหลือ จากโรงครัวหรือถัตตาคาร อาหารประเภทพืชผัก เช่น แหนเป็น สาหร่าย ผักตบชวาสับให้ละเอียด เป็นต้น อาหารสมทบเหล่านี้ควรเลือกชนิดที่มีราคาถูกและหาได้สะดวกส่วนปริมาณที่ให้ก็ ไม่ควรเป็น 4% ของน้ำ หนักปลาที่เลี้ยง หรือจะใช้วิธีสังเกตจากปลาที่ขึ้นมากินอาหารจากจุดที่ให้เป็นประจำ คือ ถ้ายังมีปลานิลออกันอยู่มากเพื่อรอกินอาหารก็เพิ่มจำนวนอาหารมากขึ้นตาม ลำดับทุก 1-2 สัปดาห์ ในการให้อาหารสมทบมีข้อพึงควรระวัง คือ ถ้าปลากินไ่ม่หมด อาหารจมพื้นบ่อ หรือละลายน้ำมากก็ทำ ให้เกิดความเสียหายขึ้นหลายประการ เช่น เสียค่าใช้จ่ายไปโดยเปล่าประโยชน์ ทำให้น้ำเน่าเสียเป็น อัตรายต่อปลาที่เลี้ยง และหรือต้องเพิ่มค่าใช้จ่ายในการสูบถาย เปลี่ยนน้ำบ่อย ๆ เป็นต้น</span></p> <h4> <span style="color:#2f4f4f;"><strong>การเลี้ยงพันธุ์ปลานิลร่วมกับสัตว์บกอื่น ๆ</strong></span></h4> <p> <span style="color:#2f4f4f;">วัตถุประสงค์เพื่อใช้มูลสัตว์เป็นอาหารและปุ๋ยในบ่อเป็นการใช้ประโยชน์แบบผสมผสานระหว่าง การเลี้ยงปลากับการเลี้ยงสัตว์อื่น ๆ โดยเศษอาหารที่เหลือจากการย่อยหรือตกหล่นจากที่ให้อาหารจะ เป็นอาหารของปลาโดยตรงในขณะที่มูลของสัตว์จะเป็นปุ๋ยและให้แร่ธาตุสารอาหารแก่พืชน้ำซึ่งเป็น อาหารของปลา เป็นการลดต้นทุนค่าใช้จ่ายและแก้ปัญหามลภาวะได้</span></p> <p> <span style="color:#2f4f4f;">วิธีการเลี้ยงสัตว์ร่วมกับปลาอาจใช้วิธีสร้างคอกสัตว์บนบ่อปลาเพื่อให้มูลไหลลงบ่อปลาโดยตรง หรือสร้างคอกสัตว์ไว้บนคันบ่อแล้วนำมูลสัตว์มาใส่ลงบ่อในอัตรที่เหมาะสม ในประเทศไทยนิยมเลี้ยง สุกร จำนวน 10 ตัว หรือ เป็น ไก่ ไข่ จำนวน 200 ตัว ต่อบ่อปลาพื้นที่น้ำ 1 ไร่</span></p> <h4> <span style="color:#2f4f4f;">2. <strong>กระชังหรือคอก</strong></span></h4> <p> <span style="color:#2f4f4f;">การเลี้ยงปลานิลโดยใช้แหล่งน้ำธรรมชาติทั้งในบริเวณน้ำกร่อยและน้ำจืด ที่มีคุณภาพน้ำดีพอก ระชังส่วนใหญ่ที่ใช้กันโดยทั่วไป จะมีขนาดกว้าง 20 เมตร ยาว 25 เมตร ลึก 5 เมตร สามารถจะนำมา ใช้ติดตั้ง 2 รูปแบบคือ</span></p> <p> <span style="color:#2f4f4f;">2.1 กระชังหรือคอกแบบผูกติดกับที่ สร้างโดยใช้ไม้ไผ่ทั้งลำปักลงในแหล่งน้ำควรมีไม้ไผ่ผูกเป็น แนวนอนหรือเสมอผิวน้ำที่ระดับประมาณ 1-2 เมตร เพื่อยึดลำไผ่ที่ปักลงในดินให้แน่นกระชัง ตอน บนและล่างควรร้อยเชือกคร่าวเพื่อใช้ยึดตัวกระชังให้ขึงตึง โดยเฉพาะตรงมุม 4 มุม ของกระชังทั้ง ด้านล่างและด้านบน การวางกระชังก็ควรวางให้เป็นกลุ่ม โดยเว้นระยะห่างกันให้น้ำไหลผ่านได้สะดวก อวนที่ใช้ทำกระชังเป็นอวนไนล่อนช่องตาแตกต่างกันตามขนาดของปลานิลที่จะเลี้ยง คือขนาดช่องตา 1/4 นิ้ว 8/8 นิ้ว ขนาด 1/2 นิ้ว และอวนตาถี่สำหรับเพาะเลี้ยงลูกปลาวัยอ่อน</span></p> <p> <span style="color:#2f4f4f;">2.2 กระชังแบบลอย ลักษณะของกระชังก็เหมือนกับกระชังโดยทั่วไปแต่ไม่ใช่เสาปักยึดติดอยู่กับที่ ส่วนบนของกระชังผูกติดทุ่นลอย ซึ่งใช้ไผ่หรือแท่งโฟม มุมทั้ง 4 ด้านล่างใช้แท่งปูนซีเมนต์หรือก้อน หินผูกกับเชือกคร่าวถ่วงให้กระชังจมถ้าเลี้ยงปลาหลายกระชังก็ใช้เชือกผูกโยง ติดกันไว้เป็นกลุ่ม</span></p> <p> <span style="color:#2f4f4f;">อัตราส่วนของปลาที่เลี้ยงในกระชัง ปลานิลที่เลี้ยงในกระชังในแหล่งน้ำที่มีคุณภาพน้ำดีสามารถ ปล่อยปลาได้หนาแน่น คือ 40-100 ตัว/ตรม. โดยให้อาหารสมทบที่เหมาะสม เช่น ปลายข้าวหรือมันสำปะหลัง รำข้าว ปลาป่น และพืชผักต่าง ๆ โดยมีอัตราส่วนของโปรตีนประมาณ 20% สำหรับวิธีทำอาหารผสมดังกล่าว คือ ต้มเฉพาะปลายข้าว หรือมันสำปะหลังให้สุก แล้วนำมา คลุกเคล้า กับรำ ปลาป่น และพืชผักต่าง ๆ แล้วปั้นเป็นก้อนเพื่อมิให้ละลายน้ำได้ง่ายก่อนที่ปลาจะกิน</span></p> <p align="center"> <span style="color:#2f4f4f;"><img alt="จำหน่ายพันธุ์ปลานิล" height="192" src="http://www.bestfish4u.com/fish-information/best-fish-information-27.jpg" width="319" /></span></p> <p align="center"> <span style="color:#2f4f4f;">ปลานิลที่จะนำไปจำหน่าย</span></p> <h4 align="left"> <br /> <span style="color:#2f4f4f;"><strong>การจับจำหน่ายพันธุ์ปลานิลและการตลาด</strong></span></h4> <p> <span style="color:#2f4f4f;">ระยะเวลาการจับจำหน่าย ไม่แน่นอนขึ้อยู่กับขนาดของปลานิลและความต้องการของตลาด โดยทั่วไปเป็นปลานิลที่ปล่อยลงเลี้ยงในบ่อรุ่นเดียวกัน ก็จะใช้เวลาประมาณ 1 ปี จึงจะจับจำหน่าย เพราะปลานิลที่ได้จะมีน้ำหนักประมาณ 2-3 ตัวต่อกิโลกรัม ซึ่งเป็นขนาดที่ตลาดที่ต้องการส่วนปลานิล ที่ปล่อยลงเลี้ยงหลายรุ่นในบ่อเดียวกัน ระยะเวลาการจับจ่ายจำหน่ายก็ขึ้นอยู่กับราคาปลาและความต้อง การของผู้ซื้อการจับปลาทำได้ 2 วิธี ดังนี้</span></p> <p> <span style="color:#2f4f4f;">1. จับปลาแบบไม่วิดบ่อแห้ง จะใช้อวนตาห่างจับปลา เพราะจะได้ปลาที่มีขนาดใหญ่ตามที่ต้องการ การตีอวนจับปลากระทำโดยผู้จับจำหน่ายและยืนเรียงแถวหน้ากระดานโดยมีระยะห่างกันประมาณ4.50 เมตร โดยอยู่ทางด้านหนึ่งของบ่อแล้วลากอวนไปยังอีกด้านหนึ่งของบ่อตามความยาวแล้วยกอวนขึ้น หลักจากนั้นก็นำสวิงตักปลาใส่เข่งเพื่อชั่งขาย ทำเช่นนี้เรื่อยไปจนได้ปริมาณตามที่ต้องการ ส่วนปลาเล็ก ก็คงปล่อยเลี้ยงในบ่อต่อไป<br /> ทีมาข้อมูล&nbsp; กรมประมง</span></p> Sat, 21 Jul 2012 08:07:00 +0700 การปลูกสมอพิเภก http://rajsimafarm.myreadyweb.com/article/topic-18967.html <div align="center"> &nbsp;</div> <table align="center" bgcolor="#AA9FFF" border="0" cellpadding="3" cellspacing="1" class="tBigGray" width="497"> <tbody> <tr bgcolor="#FFFFFF"> <td class="style49" valign="top" width="105"> <span class="style54">ชื่อวิทยาศาสตร์ </span></td> <td class="style56" valign="top" width="376"> <strong><em>Terminalia bellerica</em> Roxb.</strong></td> </tr> <tr bgcolor="#FFFFFF"> <td class="style55" valign="top"> วงศ์</td> <td class="style57" valign="top"> Combretaceae</td> </tr> <tr bgcolor="#FFFFFF"> <td class="style49" valign="top"> <span class="style54">ชื่ออื่น </span></td> <td class="style57" valign="top"> ชิบะดู่ ลัน สมอแหน สะคู้ แหน แหนขาว แหนต้น Ink nut</td> </tr> <tr bgcolor="#FFFFFF"> <td class="style49" valign="top"> <span class="style54">ลักษณะของพืช </span></td> <td class="style57" valign="top"> ไม้ยืนต้น มีพูนพอนขนาดใหญ่ สูง 10-20 เซนติเมตร กิ่งอ่อนมีขน ใบเดี่ยว เรียงสลับ บางครั้งเรียงรอบข้อ รูปวงรีกว้างถึงเกือบกลมแกมไข่ โคนใบกลมกว้าง ปลายใบกลมถึงเว้าตื้น ขอบเรียบ เมื่อยังอ่อนอยู่มีขนสีน้ำตาลเหลือง เส้นใบ 5-6 คู่ ก้านใบยาว 4-5 เซนติเมตร เมื่อยังอ่อนอยู่มีขน ดอกช่อเชิงลดออกดอกที่ซอกใบยาว 7-11 เซนติเมตร แกนกลางมีขนสีเหลือง ดอกย่อยสีครีม ใบประดับรูปไข่แกมขอบขนาน ร่วงง่าย กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันปลายแยกเป็นแฉกรูปคล้ายสามเหลี่ยมกว้าง ผลสดรูปกระสวยกว้างถึงเกือบกลม มีสันตามยาว ผิวมีขนนุ่มละเอียดสีเหลือง</td> </tr> <tr bgcolor="#FFFFFF"> <td class="style49" valign="top"> <span class="style54">ส่วนที่ใช้เป็นยา </span></td> <td class="style57" valign="top"> <u>ราก</u> แก้โลหิตอันทำให้ร้อน&nbsp; <u>เปลือกต้น</u> แก้ปัสสาวะพิการ&nbsp; <u>แก่นต้น</u> แก้ริดสีดวงลวก <u>ใบ</u><strong> </strong>แก้บาดแผล&nbsp; <u>ดอก</u> แก้โรคตา&nbsp; <u>ผลอ่อน</u>&nbsp; แก้ลมแก้ไข้ เป็นยาถ่าย&nbsp; <u>ผล</u><strong>&nbsp; </strong>แก้ลมแก้ไข้ ทำให้ชุ่มคอ แก้ลมอัมพาต แก้ผิวหนังเป็นตุ่มหนอง</td> </tr> <tr bgcolor="#FFFFFF"> <td class="style49" valign="top"> <span class="style54">สรรพคุณและวิธีใช้ </span></td> <td class="style57" valign="top"> <u><strong>ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา</strong> </u><br /> ต้านเชื้อแบคทีเรีย ต้านไวรัส ต้านเชื้อรา ต้านยีสต์ ฆ่าไส้เดือน ต้านมาลาเรีย เป็นพิษต่อปลา แก้หืดแก้ไอ แก้หวัด เร่งการสร้างน้ำดี รักษาดีซ่าน ลดความดันโลหิต ยับยั้งระดับโคเลสโตรอลในเลือดสูง ยับยั้งหลอดเลือดอุดตัน ยับยั้งเบาหวาน ลดระดับน้ำตาลในเลือด ยับยั้งฟันผุ ลดการอักเสบ แก้สิว คลายกล้ามเนื้อมดลูก ยับยั้งการฝังตัวของตัวอ่อนที่ผนังมดลูก ยับยั้งการกลายพันธ์ ยับยั้งเอนไซม์ HIV-1 reverse transcriptase, HIV-1 Protease &nbsp;</td> </tr> <tr bgcolor="#FFFFFF"> <td class="style49" valign="top"> <span class="style54">การขยายพันธุ์ </span></td> <td class="style57" valign="top"> การขยาย พันธุ์สมอพิเภกสามารถทำได้ 2 วิธี คือ การขยายพันธุ์โดยอาศัยเพศ โดยการเพาะเมล็ด และการขยายพันธุ์โดยวิธีไม่อาศัยเพศ โดยการปักชำและตอนกิ่ง&nbsp;&nbsp; ในการขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ดนั้น ช่วงเวลาที่เหมาะสมในการเก็บเมล็ด ควรเก็บประมาณช่วงเดือนมกราคมจนถึงเดือนพฤษภาคม วิธีการเก็บเมล็ด ใช้วิธีเก็บผลที่ร่วงหล่นใหม่ ๆ ผลแก่จะมีสีน้ำตาลเข้ม&nbsp;&nbsp; คุณภาพของเมล็ด เมล็ดที่เก็บใหม่ ๆ จะมีอัตราการงอก 85% เมล็ดที่เก็บไว้นานจะมีเปอร์เซ็นต์การงอกลดลง&nbsp;&nbsp;&nbsp;</td> </tr> <tr bgcolor="#FFFFFF"> <td class="style49" valign="top"> <span class="style54">สภาพดินฟ้าอากาศ </span></td> <td class="style57" valign="top"> ไม้สมอ พิเภกซึ่งเป็นไม้พื้นเมืองของประเทศไทย การกระจายพันธุ์ตามธรรมชาติพบได้ในทุกภาคของประเทศไทย สามารถขึ้นได้ในดินแถบทุกชนิด ดังนั้นในเรื่องพื้นที่ปลูกจึงไม่ค่อยมีปัญหาสำหรับไม้ชนิดนี้ การปลูกสมอพิเภกด้วยต้นกล้านั้น สามารถย้ายต้นกล้ามาปลูกได้โดยวิธีไม่มีดินหุ้มราก ขนาดของต้นกล้าที่เหมาะสมในการย้ายปลูกควรมีอายุ 6-7 เดือน มีความสูงประมาณ 40 ซม. ก่อนย้ายปลูกควรลิดใบและราก การย้ายต้นไม้จากแปลงเพาะไปปลูกควรย้ายในขณะอากาศชุ่มชื้น แต่ไม่ควรย้ายขณะฝนตกหนัก เพาะดินอาจแฉะเกินไป ดินอาจแน่นอากาศถ่ายเทไม่ได้&nbsp; สำหรับอัตราการเจริญเติบโตและการปรับปรุงพันธุ์ไม้สมอพิเภกนั้นยังไม่มีการ ศึกษาและบันทึกข้อมูลไว้ ส่วนใหญ่แล้วจะปลูกไว้เพื่อเป็นไม้ใช้สอย โดยเฉพาะการใช้ประโยชน์ทางด้านสมุนไพร</td> </tr> <tr bgcolor="#FFFFFF"> <td class="style49" valign="top"> <span class="style54">การปลูก </span></td> <td class="style57" valign="top"> <p> นำ เมล็ดที่เก็บได้มาเพาะลงในแปลงเพาะที่เตรียมไว้ ใช้ดินร่วนกลบหนาประมาณ 0.5 นิ้ว เมล็ดจะเริ่มงอกประมาณ 45 วัน หลังจากเพาะ&nbsp; &nbsp;การผสมพันธุ์แบบปักชำและตอนกิ่งทำกันน้อย เนื่องจากความต้องการกล้าไม้ชนิดนี้ยังมีไม่มากนัก</p> </td> </tr> <tr bgcolor="#FFFFFF"> <td class="style49" valign="top"> <span class="style54">เอกสารอ้างอิง</span></td> <td class="style57" valign="top"> <p> คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหิดล, ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ.สมุนไพรไม้พื้นบ้าน เล่ม 4.477-479 หน้า</p> http://www.dnp.go.th/Pattani_botany/</td> </tr> </tbody> </table> Thu, 19 Jul 2012 00:38:00 +0700 การปลูกขนุน http://rajsimafarm.myreadyweb.com/article/topic-18888.html <p> ขนุนเป็นไม้มงคล โบราณเชื่อว่าการปลูกต้นขนุนในบริเวณบ้านจะหนุนเนื่องบุญบารมี เงินทอง จะมีคนเกื้อหนุนอุดหนุนจุนเจือ ซึ่งขนุนเป็นไม้ผลยืนต้น ปลูกง่ายเติบโตเร็ว สามาถปลูกได้ในดินทั่วไปทุกประเภท สามารถขึ้นได้ทั้งในดินทราย ดินเหนียว ดินร่วนดินลูกรัง แต่ถ้าปลูกในดินดี อุดมสมบูรณ์ด้วยธาตุอาหาร ต้นขนุนก็เจริญเติบโตดีให้ผลดก โดยขนุนสามารถปลูกได้ทั่วทุกภาคของประเทศ เกษตรกรผู้ปลูกขนุนสามารถเก็บผลขายได้เกือบทั้งปี การ &ldquo;ปลูกขนุนขาย&rdquo; จึงเป็นอีกหนึ่ง &ldquo;ช่องทางทำกิน&rdquo; ที่น่าพิจารณา สำหรับผู้ที่พอจะมีที่ดินและสนใจทำอาชีพชาวสวนผลไม้</p> <p> <a href="http://www.thaikasetsart.com/wp-content/uploads/2011/12/kaset29.jpg"><img alt="" class="alignnone size-medium wp-image-2071" height="210" src="http://www.thaikasetsart.com/wp-content/uploads/2011/12/kaset29-300x210.jpg" width="300" /></a></p> <p> สุธรรม&nbsp; ซื่อตรง เกษตรกรผู้ทำสวนขนุน อยู่ที่หมู่บ้านยางงาม เทศบาลตำบลเมืองแกลง จังหวัดระยอง เล่าว่า สมัยก่อนนั้นพ่อทำสวนทุเรียน แต่ต้องเจอกับปัญหาเรื่องราคาที่ตกต่ำจึงมองหาทางออกโดยเปลี่ยนเป็นทำสวน ขนุน เพราะเนื่องจากมีญาติที่ปลูกขนุนพันธุ์ทองประเสริฐ ซึ่งเป็นพันธุ์ที่ได้รับความนิยมในตลาด ที่ญาติปลูกอยู่ มาทดลองปลูกดู เริ่มขยายพื้นที่การปลูกโดยได้รับการสนับสนุนเงินทุนจากธนาคารเพื่อการเกษตร และสหกรณ์การเกษตร(ธ.ก.ส.) จนปัจจุบันก็ปลูกมากว่า 22 ปี ตอนนี้มีพื้นที่ปลูกอยู่ประมาณ 60 กว่าไร่ พันธุ์ขนุนที่ปลูกอยู่ตอนนี้มี 2 พันธุ์ คือ พันธุ์ทองประเสริฐ และ พันธุ์สีทอง</p> <p> &ldquo;การทำสวนขนุน เมื่อเทียบแล้วจะใช้ต้นทุนการผลิตต่ำกว่าการทำสวนทุเรียน และที่สำคัญขนุนนั้นสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตออกจำหน่ายได้นานถึง 9 เดือน ซึ่งต่างจากการทำสวนทุเรียนที่เก็บเกี่ยวได้ปีละ 1 ครั้ง จึงหันมาทำสวนขนุนแทนการทำสวนทุเรียน</p> <p> การเพาะกล้าต้นขนุนนั้น จะใช้วิธีการเพาะจากเมล็ดพันธุ์ โดยเริ่มจากการนำเอาเมล็ดขนุนที่แก่จัด เป็นเมล็ดสด ต้องคัดเลือกเอาเฉพาะที่เป็นสายพันธุ์ที่ดีเท่านั้น เมื่อได้เมล็ดมาแล้วก็มาเตรียมดิน ใช้ดินที่ร่วนซุย ผสมกับขี้เถ้าแกลบและปุ๋ยคอก หรือปุ๋ยหมัก ผสมดินให้เข้ากันแล้วก็นำดินใส่ลงไปในถุงเพาะจนเกือบเต็มถุง จากนั้นก็นำเมล็ดพันธุ์ขนุนมาใส่ลงไป กดให้จมลงไปในดินประมาณ 2-3 ซม. จากนั้นก็นำเมล็ดพันธุ์ขนุนมาใส่ลงไป กดให้จมลงไปในดินประมาณ 2-3 ซม. จากนั้นก็ทำการรดน้ำวันละครั้ง ประมาณ 5 เดือน ต้นกล้าก็จะเริ่มแข็งแรง แต่ต้นกล้าที่ขึ้นมาส่วนใหญ่จะกลายพันธุ์ จึงต้องนำกิ่งพันธุ์ที่เราต้องการจากต้นมาทำการทาบกิ่งเพื่อให้ได้สายพันธุ์ ตามที่เราต้องการ หลังจากทาบกิ่งก็ดูแลรดน้ำอีกประมาณ 45 วัน จากนั้นก็ตัดนำไปเลี้ยงในโรงเรือนอีกประมาณ 15 วัน ให้เนื้อไม้จากกิ่งติดกัน ช่วงนี้ก็ต้องให้พวกอาหารเสริม ให้ปุ๋ย พอยอดเริ่มเปิด แตกใบ ก็สามารถนำไปลงปลูกในแปลงได้</p> <p> ต้นกล้าขนุนนี้ก็มีการเพาะขาย โดยราคาค่าต้นกล้านั้นถ้าเป็นพันธุ์ทองประเสริฐราคาต้นละประมาณ 40 บาท ส่วนพันธุ์สีทองนั้นมีราคาขาย<strong>อยู่ที่ประมาณ 100 บาทต่อต้น</strong></p> <p> <strong>วิธีการปลูก</strong> ถ้าเป็นสมัยก่อนจะขุดหลุมกว้าง 1 เมตร ลึก 1 เมตร แต่ปัจจุบันใช้วิธีการยกแปลง โดยเริ่มจากการพรวนดินให้ร่วน ใส่ปุ๋ยลงไปคลุกผสม นำต้นกล้าพันธุ์ไปวาง นำดินกลบทำให้เป็นเนินสูงขึ้นมา วิธีนี้เป็นวิธีที่จะทำให้การยึดเกาะของรากดี โคนต้นไม่ล้ม และไม่ต้องกลัวพายุ ปลูกให้ระยะห่างระหว่างต้นประมาณ 6&times;8 เมตร โดยการปลูกขนุนต่อพื้นที่ 1 ไร่ สามารถปลูกได้ประมาณ 30 ต้น</p> <p> <strong>การดูแล</strong> ก็รดน้ำ ใส่ปุ๋ย เน้นปุ๋ยคอกกับปุ๋ยสูตรเสมอและผสมผสานน้ำจุลินทรีย์หมัก ดูแลโดยหมั่นถางหญ้ารอบๆต้นขนุนอยู่เสมอ ไม่ควรใช้ยาฆ่าหญ้าฉีด เพราะจะทำให้ขนุนไม่โต หรือหยุดการเจริญเติบโต ดูแลไปประมาณ 1-2 ปี ต้นขนุนที่ปลูกก็จะเริ่มให้ผลผลิต เมื่อขนุนแต่ละต้นให้ผลผลิตเราต้องทำการตัดแต่งไม่ให้ลูกเยอะเกินไป ขนุนที่เราตัดออกเป็นขนุนอ่อนก็สามารถนำไปขายได้ในราคาลูกละประมาณ 9-10 บาท ลูกขนุนอ่อนที่เลี้ยงไว้ต่อ จะใช้ถุงพลาสติกมาคลุมกันแมลงวัน แต่ต้องทำการเจาะรูระบายอากาศเอาไว้ด้วย เพื่อเป็นการระบายอากาศไม่ให้ลูกขนุนเน่าข้างใน หรือจะใช้เป็นตาข่ายมาทำการห่อหุ้มก็ได้ โดยจะใช้เชือกแต่ละสีผูกไว้เพื่อเป็นการบอกถึงอายุของขนุนลูกนั้นๆ</p> <p> <strong>การใส่ปุ๋ย</strong> ปกติจะให้ปุ๋ยวิทยาศาสตร์สูตร 15-15-15 แต่ถ้าจะเน้นให้หวาน ใช้ปุ๋ยสูตร 15-20-30 พูดง่ายๆ คือจะเพิ่มความหวานก็ต้องใส่ปุ๋ยสูตรที่ตัวเลขหลังสูง โดยการใส่ปุ๋ยนั้นจะใส่ปุ๋ยต้นละ 1 กก. เดือนละ 1 ครั้ง</p> <p> ปัจจุบันราคาขนุนเฉลี่ยกิโลกรัมละ 15 บาท ขึ้นอยู่กับช่วงฤดู แต่ถ้าส่งออกราคาก็จะอยู่ที่ประมาณ 20 กว่าบาท ซึ่งลูกขนาด A1 จะหนักประมาณ 10 กก. ในการปลูกต่อ 1 ไร่ 30 ต้น ซึ่งขนุนจะให้ผลต้นละประมาณ 15 ผล เฉลี่ยผลผลิตต่อไร่ก็ประมาณ 450 ผล ขายหมดก็จะมีรายได้เฉลี่ยประมาณ 67,500 บาทต่อไร่ ก่อนหักค่าใช้จ่ายต่างๆ</p> <div> <p> &nbsp;</p> </div> <span style="color:#d3d3d3;">ขอบคุณข้อมูล http://www.thaikasetsart.com/</span> Tue, 17 Jul 2012 17:29:00 +0700 การปลูกน้อยหน่า http://rajsimafarm.myreadyweb.com/article/topic-18504.html <p class="style3"> การปลูก<a name="2"></a>น้อยหน่า</p> <p class="style3"> วิธีการปลูก</p> <p> 1. ควรปลูกในช่วงฤดูฝน<br /> 2. ควรขุดหลุมปลูกให้มีขนาดกว้าง ยาวและลึกประมาณ 50 เซนติเมตร<br /> 3. ผสมดิน ปุ๋ยคอกจำนวน 5 กิโลกรัม และปุ๋ยร็อคฟอสเฟตจำนวน 5 กิโลกรัม ประมาณ 500 กรัม เข้าด้วยกันในหลุมสูงประมาณ 2 ใน 3 ของหลุม<br /> 4. ยกถุงกล้าต้นไม้วางในหลุม โดยให้ระดับของดินในถุงสูงกว่าระดับดินปากหลุมเล็กน้อย<br /> 5. ใช้มีดที่คมกรีดถุงจากก้นถุงขึ้นมาถึงปากถุงทั้ง 2 ด้าน (ซ้ายและขวา)<br /> 6. ดึงถุงพลาสติกออก โดยระวังอย่าให้ดินแตก<br /> 7. กลบดินที่เหลือลงในหลุม<br /> 8. กดดินบริเวณโดนต้นให้แน่น<br /> 9. ปักไม้หลักและผูกเชือกยึด เพื่อป้องกันลดพัดโยก<br /> 10. หาวัสดุคลุดดินบริเวณโคนต้น เช่น ฟางข้าว หญ้าแห้ง<br /> 11. รดน้ำให้ชุ่ม<br /> 12. ทำร่มเงา เพื่อช่วยพรางแสงแดด</p> <p> <br /> <span class="style3">ระยะปลูก</span></p> <p> <br /> 3 x 3 เมตร</p> <p class="style3"> จำนวนต้นต่อไร่</p> <p> จำนวนต้นเฉลี่ย 150 ต้น/ไร่</p> <p class="style3"> การดูแลรักษา<a name="3"></a></p> <p class="style3"> การให้ปุ๋ย</p> <p> 1. ต้นที่ยังไม่ให้ผลผลิตใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 15-15-15 อัตรา 0.5 กิโลกรัม/ต้น/ปี แบ่งใส่ 2 - 3 ครั้ง<br /> 2. ต้นที่ให้ผลผลิตแล้ว แบ่งการใส่ปุ๋ยดังนี้</p> <p> - บำรุงต้น ใช้ปุ๋ยเคมีสูตร 15-15-15<br /> - ระยะสร้างตาดอก ใช้ปุ๋ยเคมีสูตร 8-24-24<br /> - บำรุงผล ใช้ปุ๋ยเคมีสูตร 15-15-15<br /> - ปรับปรุงคุณภาพ ใช้ปุ๋ยเคมีสูตร 13-13-21</p> <p> ปริมาณปุ๋ยที่ใช้ขึ้นอยู่กับอายุของต้นและผลผลิตบนต้น ซึ่งอัตราที่ใช้อยู่ระหว่าง 2 - 4 กิโลกรัม/ต้น/ปี</p> <p> <br /> <span class="style4">การให้น้ำ</span><a name="4"></a></p> <p> <br /> ในระยะปลูกใหม่ จำเป็นต้องให้น้ำสม่ำเสมอ จะช่วยให้น้อยหน่าเจริญเติบโตได้เร็ว จำนวนรอดตายสูง น้อยหน่าเริ่มติดผลได้ในปีที่ 2 การให้น้ำแก่ต้นน้อยหน่าสม่ำเสมอจะทำให้ขนาดของผลและคุณภาพผลดี</p> <p> <span class="style3">การปฏิบัติอื่น ๆ</span></p> <p> น้อยหน่าที่ให้ผลในระยะ 2 - 3 ปีแรก ไม่จำเป็นต้องตัดแต่งกิ่ง เพราะยังให้ผลขนาดใหญ่อยู่จะต้องตัดแต่งบ้างก็เป็นกิ่งที่สูงเกินไป กิ่งฉีกหัก กิ่งแก่ กิ่งไม่สมบูรณ์ ส่วนการตัดแต่งกิ่งครั้งใหญ่ จะเริ่มตัดแต่งกิ่งเมื่อน้อยหน่าอายุประมาณ 4 - 8 ปี ซึ่งต้นจะเริ่มเสื่อมโทรม ผลเล็ก รูปร่างไม่ดี ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ ความสมบูรณ์ของต้นและการบำรุงรักษาเป็นสำคัญ</p> <p> <span class="style3">การป้องกันกำจัดศัตรูพืช</span><a name="5"></a></p> <p> 1. ระยะแตกใบอ่อน ศัตรูพวกหนอนกินใบ ป้องกันโดยพ่นคาร์บาริล<br /> 2. ระยะออกดอก ศัตรูหนอนกัดกินดอกอ่อน ป้องกันโดยพ่นสารคาร์บาริล<br /> 3. ระยะติดผล โรคมั่นมี่ ป้องกันโดยพ่นสาร แคบแทน ไดเทนเอ็ม 45 โฟลิดอลและเพลี้ยแป้ง ป้องกันโดยพ่นสารคลอไพริฟอส ผสม ไซเปอร์เมทริน</p> <p class="style3"> การปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว<a name="6"></a></p> <p> 1. ดัชนีการเก็บเกี่ยว ผลน้อยหน่าจะเก็บเกี่ยวได้ประมาณ 110 - 120 วัน จากดอกบานโดยสังเกตร่องตาน้อยหน่าเริ่มห่างและสีร่องตาเข้ม ผิวจะเปลี่ยนจากสีเขียวอมเหลือง สำหรับน้อยหน่า-หนัง สำหรับพันธุ์สีครั้งจะเปลี่ยนเป็นสีม่วง<br /> 2. การเก็บเกี่ยว โดยใช้มือปลิดผลติดขั้ว ถ้าอยู่สูงจะใช้ไม่ง่ามสอย ลงมาปลดผล ใส่ตะกร้า นำมาคัดขนาด และบรรจุผลใส่ภาชนะบรรจุ ซึ่งส่วนใหญ่ใช้ตะกร้าสานด้วยไม้ไผ่ โดยรองด้วยใบตอง<br /> 3. อายุการเก็บรักษา หลังจากขนส่งน้อยหน่าส่งตลาดผลผลิตจะเริ่มสุก ขึ้นอยู่กับความแก่ของผลผลิตที่เก็บเกี่ยวปกติอายุการวางขยายผลผลิต จะอยู่ระหว่าง 3 - 5 วัน</p> <p> <span style="color:#d3d3d3;"><span class="style5">ข้อมูลจาก http://www.doae.go.th/plant/s_apple/sugarapple.htm</span></span></p> <p> &nbsp;</p> Tue, 17 Jul 2012 17:18:00 +0700 การปลูกมะตูม http://rajsimafarm.myreadyweb.com/article/topic-18814.html <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" style="width: 542px; height: 1504px;"> <tbody> <tr> <br /> </tr> <tr> <td> <strong><font face="MS Sans Serif" size="2">&nbsp;</font></strong></td> </tr> <tr> <td> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody> <tr> <td valign="top"> <p style="margin-left: 5; margin-right: 5"> <font face="MS Sans Serif" size="2">คติความเชื่อ<br /> บางตำราว่าเป็นไม้มงคลชนิดหนึ่งที่ควรมีไว้ในบริเวณบ้าน โดยปลูกไว้ทาง ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ (อีสาน) ร่วมปลูกกับไผ่รวก และทุเรียน ถือว่าเป็นเคล็ดลับในชื่อเรียกที่เป็นมงคลนาม จะทำให้เกิดกำลังใจ ให้เกิดความมานะพยายามที่จะต่อสู้ฟันฝ่าอุปสรรคต่างๆ ในชีวิต นอกจากนี้มะตูมยังเกี่ยวข้องกับพิธีกรรมและพิธีมงคลของไทย การทำน้ำมนต์เพื่อสะเดาะเคราะห์ ครอบครูจะใช้ใบมะตูมเป็นองค์ประกอบในพิธี และพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวใช้ใบมะตูมทัดหูให้แก่ทูตที่เข้าเฝ้า เพื่อกราบถวายบังคมลาไปรับราชการต่างประเทศ สำหรับในทางไสยศาสตร์ ชาวฮินดูถือว่าไม้มะตูมเป็นไม้ศักดิ์สิทธิ์ และใบมะตูมเป็นใบไม้ที่ป้องกันเสนียดจัญไร และขับภูติผีปีศาจได้</font></p> <p style="margin-left: 5; margin-right: 5"> <font face="MS Sans Serif" size="2">ชื่อพื้นเมือง<br /> มะปิน (ภาคเหนือ) กะทันตาเถร ตูม ตุ่มตัง (ภาคใต้) มะตูม (ภาคกลาง, ภาคใต้) บักตูม (ยโสธร,อีสาน) หมากตูม (อุดรธานี,มหาสารคาม,อีสาน) พะเนิว (เขมร) ตุ่มตัง (ล้านช้าง)</font></p> <p style="margin-left: 5; margin-right: 5"> <font face="MS Sans Serif" size="2">ชื่ออังกฤษ<br /> Bael, Bengal quince, Bilak</font></p> <p style="margin-left: 5; margin-right: 5"> <font face="MS Sans Serif" size="2">ชื่อวิทยาศาสตร์<br /> <i>Aegle marmelos</i> Corr.</font></p> <p style="margin-left: 5; margin-right: 5"> <font face="MS Sans Serif" size="2">วงศ์<br /> RUTACEAE</font></p> <p style="margin-left: 5; margin-right: 5"> <font face="MS Sans Serif" size="2">ลักษณะทางพฤกษศาสตร์<br /> มะตูมเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูงถึง 15 เมตร ตามลำต้นและกิ่งมีหนามแข็งแหลมคมอยู่มากมาย เรือนยอดกลม เปลือกลำต้นเรียบ สีน้ำตาล<br /> 1. ใบ เป็นใบประกอบชนิดมีใบย่อย 3 ใบ ออกเวียนเป็นเกลียวรอบกิ่ง ใบย่อยรูปไข่หรือรูปหอกแกมรูปไข่ ปลายใบเรียวแหลม กว้าง 1.75-7.5 ซม. ยาว 4-13.5 ซม. ขอบใบหยักเป็นฟันเลื่อย ฐานใบมน ก้านใบยาว ใบมีกลิ่นหอม หากนำไปส่องแดดจะเห็นเนื้อใบมีต่อมน้ำมันเป็นจุดใสๆ กระจายอยู่<br /> 2. ดอก เป็นดอกช่อ ออกตรงปลายกิ่งหรือซอกใบ ดอกย่อยสีขาว หรือขาวปนเขียว มีกลิ่นหอมไกล กลีบเลี้ยง 5 กลีบ กลีบดอก 4-5 กลีบ<br /> 3. ผล เป็นรูปไข่หรือรูปกลม เปลือกผลจะหนาแข็ง ผลอ่อนมีเปลือกสีเขียว เมื่อแก่กลายเป็นสีเขียวอมเหลือง ภายในผลมีเนื้อสีส้มปนเหลือง เนื้อนิ่มมีเมล็ดจำนวนมากแทรกอยู่ในเนื้อผล</font></p> <p style="margin-left: 5; margin-right: 5"> <font face="MS Sans Serif" size="2">การปลูก<br /> มะตูมขยายพันธุ์ได้โดยการเพาะเมล็ด และการตอนกิ่ง มะตูมเป็นไม้ปลูกกลางแจ้งและทนต่อความร้อนได้ดี</font></p> <p style="margin-left: 5; margin-right: 5"> <font face="MS Sans Serif" size="2">ประโยชน์ทางยา<br /> ส่วนที่ใช้เป็นยา ราก ใบ ผลแก่และสุก เปลือกราก ทั้ง 5<br /> รสและสรรพคุณในตำรายาไทย<br /> 1. ราก รสฝาดปร่า ชา ขื่นเล็กน้อย แก้พิษฝี แก้ไข้ แก้ลมหืดหอบ ไอช่วยบำบัดเสมหะ รักษาน้ำดี<br /> 2. ใบสด รสฝาด ปร่า ซ่า ขื่น มัน เป็นยาบำรุงธาตุ ทำให้เจริญอาหาร แก้โรคลำไส้ แก้ท้องเดิน แก้หวัด แก้หลอดลมอักเสบ น้ำคั้นจากใบทาแก้หวัด แก้บวม แก้เยื่อตาอักเสบ<br /> 3. ผลมะตูมแก่ รสฝาดหวาน มีสรรพคุณบำรุงธาตุ เจริญอาหารและช่วยขับลมผาย<br /> 4. ผลมะตูมสุก รสหวานเย็น สรรพคุณแก้ลม แก้เสมหะ แก้มูกเลือด บำรุงไฟธาตุ แก้กระหายน้ำ ขับลมผาย<br /> 5. ทั้ง 5 รสฝาดปร่าซ่าขื่น แก้ปวดศีระษะ ตาลาย เจริญอาหาร ลดความดันโลหิตสูง<br /> 6. เปลือกรากและลำต้น รสฝาดปร่าซ่าขื่น แก้ไข้จับสั่น ขับลมในลำไส้<br /> ขนาดและวิธีใช้<br /> 1. ช่วยขับลมผาย ช่วยเจริญอาหาร ใช้ผลมะตูมแก้ทั้งลูกขูดผิวให้หมด ทุบพอร้าวๆ ต้มน้ำเติมน้ำตาลเล็กน้อยดื่มน้ำ น้ำที่ได้มีรสหอม เรียกว่า &ldquo;น้ำอัชบาล&rdquo;<br /> 2. แก้กระหายน้ำ แก้ลม แก้เสมหะ รับประทานเนื้อผลมะตูมสุก<br /> 3. แก้พิษฝี แก้ไข้ แก้ลมหืดหอบ ไอ นำรากไปคั่วไฟให้เหลือง แล้วนำไปดองสุราเพื่อกลบกลิ่น<br /> 4. แก้โรคลำไส้ แก้ท้องเดิน แก้หวัด ใช้ใบรับประทานเป็นผัก<br /> 5. แก้ปวดศีรษะ ตาลาย ลดความดันโลหิตสูง ใช้ทั้ง 5 ต้มรับประทาน<br /> 6. แก้ธาตุพิการ แก้ท้องเสีย ใช้ผลอ่อนหั่นผึ่งให้แห้ง บดเป็นผงหรือต้มรับประทาน โดยใช้ตัวยา 1 กำมือ ต้มกับน้ำ 5 แก้ว นานประมาณ 10-30 นาที ดื่มครั้งละ 1 แก้ว ทุก 2 หรือ 4 ชั่วโมง แล้วแต่ว่าเป็นมากเป็นน้อย หรืออาจจะซื้อมะตูมแห้งจากร้านขายยา 5-6 แว่น ต้มกับน้ำประมาณ 2 ถ้วยแก้ว เดือดแล้วเคี่ยวต่อไปเล็กน้อย ยกลง ตั้งไว้ให้เย็นดื่มครั้งละ &frac12; แก้มเติมน้ำตาล<br /> 7. แก้หวัด แก้หลอดลมอักเสบ แก้บวม ใช้ใบสดคั้นเอาน้ำรับประทาน</font></p> <p style="margin-left: 5; margin-right: 5"> <font face="MS Sans Serif" size="2">ข้อแนะนำ<br /> 1. ตำรายานี้เป็นเพียงยาระงับอาการของโรคเท่านั้น ถ้าใช้รักษาโรคภายใน 1 วันไม่ได้ผล (ยกเว้นโรคเรื้อรัง เช่น กระเพาะ, หืด)<br /> 2. ควรหยุดใช้ยาทันทีเมื่อมีความเจ็บป่วย หากอาการรุนแรงขึ้น ไม่ควรรักษาด้วยตนเองควรปรึกษาผู้ชำนาญ<br /> 3. ควรใช้เมื่อยามจำเป็นเท่านั้น เพราะยานี้ใช้รักษาโรคค่อนข้างรุนแรง เช่น ท้องเสียรุนแรง<br /> 4. ถ้าท้องเสียควรดื่มน้ำมากๆ เติมน้ำตาลทรายและเกลือลงไปด้วยจะดีมาก</font></p> <p style="margin-left: 5; margin-right: 5"> <font face="MS Sans Serif" size="2">สารสำคัญ<br /> 1. ผลแก่มีสารที่เป็นเมือก (mucilage) และ pectin น้ำมันระเหย<br /> 2. ผลสุกมีสารที่เป็นเมือก pectin น้ำมันระเหย และ tannin</font></p> <p style="margin-left: 5; margin-right: 5"> <font face="MS Sans Serif" size="2">ประโยชน์ทางอาหาร<br /> ส่วนที่ใช้เป็นผัก ยอดอ่อน ผลดิบ<br /> ช่วงฤดูกาลที่เก็บ ยอดอ่อนออกตลอดปี ลูกอ่อนพบในช่วงฤดูฝน ผลสุกมีในช่วงกลางฤดูหนาวถึงฤดูแล้ง<br /> การปรุงอาหาร<br /> คนไทยทุกภาครับประทานยอดอ่อนและใบอ่อนของมะตูมเป็นผักสด ในตลาดท้องถิ่นมักพบในมะตูมอ่อนจำหน่ายเป็นผักชาวเหนือรับประทานแกล้มลาบ ชาวอีสานรับประทานร่วมกับก้อย ลาบหรือแจ่วป่น ชาวใต้รับประทานร่วมกับน้ำพริกและแกงรสจัด สำหรับภาคกลางไม่นิยมรับประทานยอดอ่อน แต่พบว่ามีการใช้มะตูมดิบมาปรุงเป็นยำมะตูม</font></p> <p style="margin-left: 5; margin-right: 5"> <font face="MS Sans Serif" size="2">ประโยชน์อื่น<br /> ไม้มะตูมใช้ทำเกวียน ลูกหีบ หวี ยางในมะตูมใช้แทนกาวได้ และเปลือกผลทำเป็นสีย้อมผ้าให้สีเหลืองได้</font></p> </td> <td valign="top" width="160"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody> <tr> <td align="center" valign="top" width="100%"> <strong><font face="MS Sans Serif" size="2"><img border="0" height="103" src="http://ittm.dtam.moph.go.th/data_articles/direct_tree/images/16-01.jpg" width="160" /> </font></strong><font face="MS Sans Serif"> </font> <p> <font face="MS Sans Serif"><strong><font size="2"><img border="0" height="105" src="http://ittm.dtam.moph.go.th/data_articles/direct_tree/images/16-02.jpg" width="160" /></font></strong></font></p> <p> <font face="MS Sans Serif"><strong><font size="2"><img border="0" height="160" src="http://ittm.dtam.moph.go.th/data_articles/direct_tree/images/16-03.JPG" width="102" /></font></strong></font></p> </td> </tr> <tr> <td align="center" width="100%"> <strong><font color="#FF6600" face="MS Sans Serif" size="2">&nbsp;</font></strong></td> </tr> </tbody> </table> </td> </tr> </tbody> </table> </td> </tr> </tbody> </table> ที่มา http://ittm.dtam.moph.go.th/data_articles/direct_tree/directtree16.htm Mon, 16 Jul 2012 17:21:00 +0700 การปลูกมะเขือเปราะ http://rajsimafarm.myreadyweb.com/article/topic-18813.html <span style="color: #073763; font-size: large;">มะเขือเปราะ</span><br /> ชื่อสามัญ : มะเขือเปราะ ( EGG PLANT)<br /> ชื่อวิทยาศาสตร์ : CHIONATHUS PARKINONII<br /> ชื่ออื่น/ชื่อท้องถิ่น :<br /> บ่าเขือผ่อย (ภาคเหนือ) บ่าเขือกางกบ (ชนิดที่มีลายสีเขียวอ่อน อยู่บริเวณส่วนก้น) บ่าเขือเดือนแจ้ง (ชนิดที่มีผลสีขาวล้วน) , มะเขือเจ้าพระยา<br /> <br /> <b><span style="color: #7f6000;">คุณค่าทางอาหารของมะเขือเปราะ</span></b><br /> มะเขือเปราะ 100 กรัม ให้พลังงาน 39 กิโลแคลอรี ประกอบด้วย โปรตีน 1.6 กรัม ไขมัน 0.5 กรัม คาร์โบไฮเดรต 7.1 กรัม แคลเซียม 7 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 10 มิลลิกรัม เหล็ก 0.8 มิลลิกรัม ไทอะมิน 0.11 มิลลิกรัม ไนอะซิน 0.6 มิลลิกรัม ไรโบฟลาวิน 0.06 มิลลิกรัม น้ำ 90.2 กรัม วิตามินเอรวม 143 RE. วิตามินซี 24 มิลลิกรัม<br /> <br /> <b><span style="color: #274e13;">ประโยชน์ของมะเขือเปราะ</span></b><br /> - ลดการบีบตัวของกล้ามเนื้อเรียบ ต้านมะเร็ง บำรุงหัวใจ ลดความดันเลือด<br /> - บรรเทาอาการของโรคเบาหวาน เนื่องจากมะเขือเปราะมีสรรพคุณคล้ายกับอินซูลินลดปริมาณน้ำตาลในเลือด คนเป็นเบาหวานที่มีมะเขือเปราะเป็นผักคู่ใจเลยอาการดีวันดีคืน<br /> - ช่วยขับพยาธิ ลดการอักเสบ<br /> - ช่วยให้ระบบย่อยและระบบขับถ่ายทำงานดี<br /> - มีประโยชน์ต่อตับอ่อน ทำให้ตับแข็งแรงทำงานได้มีประสิทธิภาพ<br /> <br /> <b><span style="color: #741b47;">สรรพคุณของมะเขือเปราะ</span></b><br /> <div class="separator" style="clear: both; text-align: center;"> <a href="http://1.bp.blogspot.com/-tmshBtGDd_E/Ty2CbOTnCKI/AAAAAAAAA4E/ZEIuaeqeudE/s1600/200ppppp.jpg" style="clear: left; float: left; margin-bottom: 1em; margin-right: 1em;"><img alt="มะเขือเปราะ" border="0" height="200" src="http://1.bp.blogspot.com/-tmshBtGDd_E/Ty2CbOTnCKI/AAAAAAAAA4E/ZEIuaeqeudE/s200/200ppppp.jpg" width="200" /></a></div> - มะเขือเปราะช่วยลดระดับโคเลสเตอรอลในเลือดฆ่าเชื้อแบคทีเรียและขับปัสสาวะ<br /> - การแพทย์อายุรเวทของอินเดียใช้รากมะเขือเปราะ รักษาอาการไอ หอบหืด อาการหลอดลมอักเสบ ขับปัสสาวะ และขับลม<br /> - ผลใช้ขับพยาธิ ลดไข้ ลดอักเสบ ช่วยการขับถ่าย ช่วยย่อยอาหาร และกระตุ้นทางเพศ ประชากรในแคว้นโอริสสาของประเทศอินเดียใช้น้ำต้มผลมะเขือเปราะรักษาโรคเบา หวาน งานวิจัยนานาชาติระหว่างปี พ.ศ.2510-2538 พบว่า ผลมะเขือเปราะมีฤทธิ์ลดการบีบตัวกล้ามเนื้อเรียบ ต้านมะเร็ง บำรุงหัวใจ และลดความดันเลือด<br /> - ผลมะเขือเปราะมีไกลโคอัลคาลอยด์โซลามาร์จีน โซลาโซนีน และอัลคาลอยด์โซลาโซดีนที่ปราศจากโมเลกุลน้ำตาล การทดสอบฤทธิ์ต้านเซลล์มะเร็งของสารเหล่านี้พบว่า ทุกตัวมีฤทธิ์ต้านการเจริญของเซลล์มะเร็งตับและลำไส้ใหญ่<br /> - พบว่าฤทธิ์ของไกลโคอัลคาลอยด์สูงกว่าโมเลกุลไร้น้ำตาล ราก ต้นและผลแก่มีสารอัลคาลอยด์เหล่านี้ต่ำ แต่ผลเขียว (เหมือนที่คนไทยกิน) มีสารที่มีประโยชน์เหล่านี้ในปริมาณสูงกว่าส่วนอื่นของพืชดังกล่าว<br /> - สารโซลาโซดีนใช้เป็นสารตั้งต้นในการสังเคราะห์สเตียรอยด์คอร์ติโซนและฮอร์โมนเพศได้ ผลตากแห้งบดเป็นผงผสมน้ำผึ้งใช้ปรุงยาแก้ไอ<br /> - งานวิจัยที่แคว้นโอริสสา ประเทศอินเดีย ใช้สารสกัดน้ำของผลมะเขือเปราะลดปริมาณน้ำตาลในเลือดของหนูเบาหวานอะล็อกซาน พบว่าได้ผลลดน้ำตาลในเลือดดีเท่ากับการใช้ยากลิเบนคลาไมด์ (glibenclamide)<br /> <br /> <b><span style="color: #783f04;">ลักษณะทั่วไปของพืช</span></b><br /> มะเขือที่ปลูกในบ้านเราส่วนมากจะเป็นมะเขือพื้นเมืองที่ปลูกต่อๆกันมา ชื่อของมะเขือมักจะตั้งตามลักษณะของพันธุ์หรือท้องถิ่นนั้นๆ เช่น มะเขือเปราะเจ้าพระยา มะเขือสามารถปลูกได้ในดินแทบทุกชนิดที่มีความชื้นสูงพอสมควร ไม่แฉะเกินไปหรือแห้งเกินไป pH ประมาณ 5.5-6.8 ต้องการแสงแดดเต็มที่<br /> การเพาะกล้า<br /> <br /> มะเขือเป็นพืชที่มีระบบรากปานกลาง การเพาะกล้าควรขุดไถดินลูกประมาณ 15 ซม. ตากดินไว้ 10-15 วัน ใส่ปุ๋ยคอกคลุกเคล้าในดินเพื่อช่วยให้ดินร่วนฟู พรวนดินให้ละเอียด หว่านเมล็ดมะเขือทั่วแปลง แล้วหว่านปุ๋ยคอกกลบทับ<br /> <br /> <b><span style="color: #0b5394;">การปลูกมะเขือเปราะ</span></b><br /> -0เมื่อต้นกล้าอายุ 30 วัน ให้ย้ายกล้าโดยมีดินติดรากให้มากที่สุด ควรย้ายกล้าช่วงบ่ายถึงเย็น เมื่อย้ายแล้วรดน้ำให้ชุ่มทันที ควรพรางแสงให้ต้นกล้าในช่วง 3 วันแรกเพื่อให้กล้าตั้งตัวเร็วขึ้น<br /> -0ระยะปลูกที่เหมาะสมคือ ระยะระหว่างต้น 50 ซม. ระหว่างแถว 80-100 ซม.<br /> <br /> <b><span style="color: #e69138;">การดูแล</span></b><br /> ช่วงแรกควรให้น้ำสม่ำเสมอและเพียงพอ ไม่ระวังไม่ให้แฉะเกินไปควรใส่ปุ๋ยสูตร 13-13-21 อัตรา 50-100 กก./ไร่ เป็นปุ๋ยรองพื้นตอนปลูก และหลังย้ายกล้า 30 วันควรใส่ปุ๋ยยูเรีย เพื่อช่วยเร่งการเจริญของต้นกล้าระยะแรกควรพรวนดินกำจัดวัชพืชในระยะที่ต้น ยังเล็ก เพื่อช่วยให้ถ่ายเทอากาศและน้ำได้ดี ต้นจะแข็งแรง<br /> <br /> <b><span style="color: blue;">การเก็บเกี่ยว</span></b><br /> ปกติจะเก็บเกี่ยวได้เมื่ออายุประมาณ 60-85 วัน ควรเลือกเก็บผลที่ยังไม่แก่ เพราะผลที่เริ่มแก่คุณภาพจะลดลงและไม่อร่อย ไม่ควรปล่อยผลแก่คาต้นเพราะทำให้ผลผลิตลดลง<br /> <br /> <b><span style="color: #6aa84f;">โรคและแมลงศัตรู</span></b><br /> - โรคที่สำคัญของมะเขือคือโรคใบด่าง โรคเหี่ยว แอนแทรคโนส โรคผลเน่า<br /> - แมลงที่พบบ่อยคือ เพลี้ยไฟ หนอนเจาะผล แมลงวันทอง<br /> <div> &nbsp;</div> <div> <i><span style="color: #274e13;">ที่มา ผัก.net</span></i></div> Mon, 16 Jul 2012 17:12:00 +0700 การปลูกมะพร้าวน้ำหอม http://rajsimafarm.myreadyweb.com/article/topic-18729.html <b>สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม</b><br /> &bull; ควรมีฝนตกกระจายสม่ำเสมอไม่น้อยกว่า 1,500 มิลลิเมตรต่อปี และไม่ควรมีฝนตกน้อยกว่า 50 มิลลิเมตร เกิน 3 เดือน<br /> &bull; อุณหภูมิเฉลี่ย 27 องศาเซลเซียส จะสูงหรือต่ำกว่านี้ไม่เกิน 7-8 องศาเซลเซียส อุณหภูมิไม่ควรเปลี่ยนแปลงอย่างกระทันหัน<br /> &bull; มะพร้าวควรได้รับแสงแดดอย่างน้อย 5 ชั่วโมงต่อวัน แสงแดดต้องสาดส่องอย่างสม่ำเสมอตลอดปี<br /> &bull; ควรมีลมพัดอ่อน ๆ แต่พัดอย่างสม่ำเสมอ<br /> &bull; ดินไม่เปรี้ยวหรือเค็มจัด มีความอุดมสมบูรณ์เพียงพอ และความชื้นพอเหมาะ แต่ถ้าเป็นดินน้ำไหลทรายมูลที่เกิดจากน้ำพัดพามาสะสม เช่น ดินริมแม่น้ำ จะปลูกมะพร้าวได้ดีที่สุด<br /> <div style="text-align: center;"> <iframe allowfullscreen="" frameborder="0" height="300" src="http://www.youtube.com/embed/LcTvSZSZvu4" width="400"></iframe><br /> &nbsp;</div> <div> <b>พันธุ์มะพร้าวน้ำหอม</b></div> เชื่อว่ามะพร้าวน้ำหอมกลายพันธุ์มาจาก<u>พันธุ์หมูสีเขียว </u>เกิดจากการ คัดเลือกพันธุ์โดยธรรมชาติ จุดเด่นคือ น้ำมะพร้าวมีกลิ่นหอมและรสหวานจึงเป็นพันธุ์ที่นิยมปลูกเป็นการค้ามากที่สุด ในบรรดามะพร้าวที่ปลูกเพื่อขายผลอ่อน เป็นมะพร้าวที่ให้ผลเร็วติดผลดกและต้นเตี้ย การบานของดอกตัวผู้และดอกตัวเมียใกล้เคียงกัน จึงผสมตัวเอง แทนที่จะผสมข้ามต้นแบบมะพร้าวต้นสูง ทำให้มะพร้าวน้ำหอมไม่ค่อยกลายพันธุ์<br /> <br /> <b>วิธีการปลูก</b><br /> <b>การเตรียมที่ปลูก</b><br /> <b>ที่ลุ่ม </b><br /> พื้นที่ลุ่มน้ำท่วมขังจำเป็นต้องยกร่องให้สูงกว่าระดับน้ำ ไม่น้อยกว่า 50 ซม. คันร่อง กว้าง 5-8 เมตร ร่องลึก 1 เมตร กว้าง1 1/2 - 2 เมตร<br /> <b>ที่ดอน</b><br /> ถ้าเป็นพื้นที่รกร้าง ต้องถางให้เตียน โค่นต้นไม้และขุดตอออกให้หมด เพื่อสะดวกในการดูแลรักษามะพร้าวต่อไป<br /> <b>ระยะปลูกที่เหมาะสม</b><br /> คือ ระยะระหว่างต้น x ระยะระหว่างแถว เท่ากับ 6x6 เมตร<br /> <b>การเตรียมหลุมปลูก</b><br /> การปลูกมะพร้าวบนที่ดอนและดินมีความอุดมสมบูรณ์ เช่น เป็นดินทราย หรือดินลูกรัง ควรขุดหลุมกว้าง 1 เมตร ยาว 1 เมตร และลึก 1 เมตร ส่วนในที่ลุ่มหรือที่ที่ดินอุดมสมบูรณ์อาจขุดหลุมให้เล็กกว่านี้ได้ การเตรียมหลุมปลูกที่ดีจะช่วยให้หน่อมะพร้าวเจริญเติบโตเร็วการขุดหลุม ให้ขุดเอาดินผิวไว้ด้านหนึ่ง และดินชั้นล่างไว้อีกทางหนึ่ง และควรขุดในฤดูแล้ง หลังจากขุดหลุมแล้ว ให้ตากดินไว้สัก 7 วัน ถ้าสามารถหาไม้มาเผาในก้นหลุมจะช่วยป้องกันปลวกหลังจากขุดหลุมแล้ว เมื่อจะใส่ดินลงในหลุม ถ้าที่ปลูกนั้นเป็นที่ดอน และสามารถหากาบมะพร้าวมารองก้นหลุมได้ ควรรองก้นหลุมด้วยกาบมะพร้าวสัก 2 ชั้น แล้วจึงเอาดินชั้นบนใส่ลงไปประมาณครึ่งหลุม และใช้ดินเคล้ากับปุ๋ยคอกผสมลงไป บางแห่งก็แนะนำให้ใส่ปุ๋ยกับดิน และกาบมะพร้าวสลับกันไปเป็นชั้น ๆ ปุ๋ยคอกที่ใส่ควรใส่หลุมละประมาณ1 ปี หรือ หินฟอสเฟตครึ่งกิโลกรัมต่อหลุม ใส่ดินและปุ๋ยที่ผสมกันแล้วจนเต็มหลุมและทิ้งไว้จนถึฤดูปลูก<br /> <b>การปลูก</b><br /> หลังจากฝนตกหนัก 2 ครั้ง ในช่วงต้นฝนจึงเริ่มลงมือปลูก โดยขุดดินตรงกลางหลุม ขนาดเท่าผลมะพร้าว เอาหน่อมะพร้าววางลงจัดรากให้แผ่ตามธรรมชาติ เอาดินกลบเหยียบด้านข้างให้แน่น กลบดินให้เสมอผิวของผลมะพร้าว ปักหลักกันลมโยกในระยะแรก ๆ ควรทำร่มบังแดดด้วย<br /> <br /> <b>การดูแลรักษา</b><br /> <br /> <b>การให้น้ำ</b><br /> ในช่วง 1-2 ปีแรก การให้น้ำแก่ต้นมะพร้าวเป็นสิ่งจำเป็นในฤดูแล้ง ควรรดน้ำอย่างน้อยอาทิตย์ละครั้ง และใช้เศษหญ้าคลุมโคนมะพร้าวเพื่อรักษาความชื้น<br /> <b>การใส่ปุ๋ย</b><br /> ใส่ปุ๋ย 2 ครั้ง ในช่วงฤดูฝน ปุ๋ยเคมีสูตร 13-13-21 ปริมาณเท่าจำนวนอายุของมะพร้าว แต่ไม่เกิน 4 กิโลกรัม ต่อต้นต่อปี สำหรับปุ๋ยคอกใส่ประมาณ 2 ปีบต่อต้นต่อปี ควรใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยเคมีห่างจากโคนต้นมะพร้าวออกมา 15 เซนติเมตร จนถึงรัศมี 1.5 เมตร รอบต้น<br /> <br /> <b>การปลูกพืชแซม</b><br /> ในปีที่ 1-2 มะพร้าวอ่อนยังมีทรงพุ่มไม่ใหญ่นัก และยังไม่ได้ผลผลิต ช่วงนี้จึงควรปลูกพืชอายุสั้น เช่น พืชผัก พืชตระกูลถั่ว พืชไร่ หรือ พืชสวน เพื่อเพิ่มรายได้ให้กับผู้ปลูกมะพร้าวอ่อน <b>ศัตรูมะพร้าว</b><br /> <br /> <b>ด้วงแรด</b><br /> กัดกินยอดมะพร้าวทำให้ใบมะพร้าวขาดเป็นริ้ว ๆ รูปสามเหลี่ยม ต่อมาทางมะพร้าวจะหักพับลงทำให้มะพร้าวโทรม หรือตายได้ แหล่งขยายพันธุ์ในซากลำต้นหรือตอของมะพร้าว หรือมูลสัตว์ที่กองทิ้งไว้นาน ๆ การกำจัดแหล่งขยายพันธุ์เป็นการป้องกันที่ดีที่สุด<br /> <b>การป้องกันกำจัด</b><br /> <b>ใช้วิธีเขตกรรม</b><br /> การกำจัดแหล่งขยายพันธุ์เป็นวิธีที่ดีที่สุด และลงทุนน้อย โดยไม่ปล่อยแหล่งขยายพันธุ์ไว้เกิน 2-3 เดือน มีวิธีดำเนินการดังต่อไปนี้<br /> &bull; เผาหรือฝังซากท่อนมะพร้าว ตอมะพร้าว<br /> &bull; นำชิ้นส่วนของพืชและมูลสัตว์ที่กองทิ้งไว้ ควรเกลี่ยกระจายบนพื้นดินไม่ให้หนาเกิน 15 ซม.<br /> &bull; ถ้าจำเป็นต้องกองทิ้งไว้เกิน 2-3 เดือน ควรหมั่นพลิกกลับกอง เพื่อตรวจหาไข่หนอน ดักแด้ และตัวเต็มวัยของด้วงแรด แล้วกำจัดทันที<br /> <b>ใช้วิธีกล</b><br /> &bull; หมั่นทำความสะอาดบริเวณตอมะพร้าวตามโคน และยอด หากพบให้ใช้เหล็กแหลมแทงด้วงแรดในรู เพื่อกำจัดทันที ก่อนจะทำลายตายอดมะพร้าว พร้อมใส่สารฆ่าแมลงป้องกันไม่ให้ด้วงงวงมะพร้าววางไข่<br /> <b>ใช้สารฆ่าแมลง</b><br /> &bull; พอสซ์ หรือลอร์สแบบ 40 อีซี ปริมาณ 80 มล./น้ำ 20 ลิตร สำหรับมะพร้าวอายุ 1-5 ปี ราดบริเวณคอมะพร้าวให้เปียกชุ่มโดยใช้น้ำยาผสมประมาณ 1-1.5 ลิตร/ต้น ตามขนาดของคอมะพร้าว ห่างกัน 15-20 วัน ทำติดต่อกัน 1-2 ครั้ง<br /> &bull; เซฟวิน 85 ดับบลิวพี ใช้เซฟวิน 85 ดับบลิวพี 1 ส่วน ผสมขี้เลื่อย 33 ส่วน ใช้ทารอบยอดส่วนของโคน ทางใบมะพร้าว<br /> &bull; ลูกเหม็น ใช้ลูกเหม็น 6-8 ลูก/ต้น ใส่ลูกเหม็นไว้ที่โคนทางมะพร้าวที่อยู่รอบยอดที่ยังไม่คลี่จำนวน 3-4 ทาง ๆ ละ 2 ลูก ลดจำนวนลูกเหม็นลงเป็น 1 ลูก/ทางใบมะพร้าวต้นเล็ก<br /> &bull; ฟูราดาน 3% จี ใช้ฟูราดาน 200 กรัม/ต้น โรยรอบคอมะพร้าวตามโคนกาบใบ<br /> <br /> <b>ด้วงงวงชนิดเล็กและชนิดใหญ่</b><br /> ตัวด้วงกัดกินส่วนอ่อนของมะพร้าว เช่น ยอดอ่อนหรือโคนมะพร้าว ทำให้มะพร้าวแคระแกร็น ใบหดสั้น ใบอ่อนร่วงหล่น คอมะพร้าวเน่า และตายในที่สุด<br /> <b>การป้องกันกำจัด</b><br /> ใช้น้ำมันเครื่องที่ใช้แล้ว หรือ ชันผสมน้ำมันยาง ทารอบต้นตั้งแต่โคนต้นถึงระดับเหนือพื้นดิน 2 ฟุต ที่พบรอยแผลหรือรอยแตกของเปลือก เพื่อป้องกันการวางไข่ ทำปีละ 2 ครั้ง ใช้สารเคมีลอร์สแบน 40-80 ซีซี/น้ำ 20 ลิตร หยอดตามรอยแผลหรือรูเจาะที่เกิดจากด้วงแรด บริเวณรอบคอมะพร้าว และราดบริเวณบาดแผลที่เป็นเนื้อเยื่ออ่อน พร้อมอุดรูด้วยดินน้ำมัน หรือดินเหนียว<br /> <b>การเก็บเกี่ยว</b><br /> วิธีการที่สามารถใช้สังเกตอายุการเก็บเกี่ยวมะพร้าวที่เหมาะสมได้ เช่น<br /> &bull; การนับทะลาย นับทะลายที่จะเก็บเกี่ยวเป็นทะลายที่หนึ่ง แล้วนับทะลายที่ออกตามมาเป็นทะลายที่สองและสามไปเรื่อย ๆ เมื่อจั่นที่ 12 แทงออกและกาบหุ้มยังไม่แตกเป็นระยะที่ มะพร้าวทะลายแรกอยู่ในช่วงที่อ่อนกำลังดี<br /> &bull; สังเกตจากหางหนู เก็บเกี่ยวในช่วงที่หางหนูแห้งครึ่งหนึ่ง ส่วนอีกครึ่งหนึ่งยังสดอยู่<br /> &bull; สังเกตจากสีผล ให้สังเกตบริเวณรอยต่อของขั้วกับตัวผล ซึ่งจะเห็นเป็นวงสีขาว ๆ รอบขั้วผลอยู่ในระยะที่เพิ่ง เลือนหายไป<br /> <br /> <b>วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว</b><br /> &bull; แช่ผลมะพร้าวในสารละลายโซเดียมเมตาซัลไฟท์ ความเข้มข้นประมาณ 3 % นาน 3 นาที จะช่วยรักษาสีผิวของมะพร้าวอ่อนให้เก็บในอุณหภูมิต่ำได้นานเป็นเดือน<br /> &bull; หุ้มผลด้วยฟิล์มพลาสติกเพื่อป้องกันผลเหี่ยว และช่วยลดปัญหาที่เกิดจากการควบแน่นของไอน้ำระหว่างการเก็บรักษา ซึ่งถ้ามีน้ำสะสมที่ผิวผลมากจะทำให้เกิดเชื้อราขึ้นระหว่างการเก็บรักษาหรือ การวางจำหน่ายได้<br /> &bull; อุณหภูมิที่เหมาะสมในการเก็บรักษานั้นจะขึ้นอยู่กับรูปแบบ หรือลักษณะของมะพร้าว หากเป็นมะพร้าวที่แต่งเปลือกเขียวออกจนหมดควรเก็บที่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียสจะเก็บได้นานถึง 4 สัปดาห์ แต่ถ้าปอกเปลือกนอกออกทั้งหมด เหลือเฉพาะส่วนขั้วผลและขัดกะลาจนเรียบ ควรเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 2-4 องศาเซลเซียส แต่ถ้าแต่งเปลือกสีเขียวออกบางส่วนจะต้องเก็บที่อุณหภูมิสูงขึ้นคือ 10 องศาเซลเซียสเพื่อป้องกันความเสียหาย จากความเย็นที่ส่วนเขียวซึ่งจะเกิดจุดสีน้ำตาล และทำให้เปลือกเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลหากเก็บที่อุณหภูมิต่ำนานเกิน<br /> <span style="color:#d3d3d3;">ขอบคุณที่มา http://it.doa.go.th/vichakan/news.php?newsid=42</span> Mon, 16 Jul 2012 17:01:00 +0700 การปลูกกล้วยหอมทอง http://rajsimafarm.myreadyweb.com/article/topic-18743.html <span id="ctl00_cphTop_DataList1_ctl00_Label1"><b style="text-decoration: underline;">การปลูก</b><br /> <br /> <span style="font-weight: bold;">การเตรียมดิน :</span><br /> ไถดะ 1 ครั้ง ตากดินแล้วไถพรวน 1-2 ครั้ง ให้ดินร่วนซุย ไม่มีวัชพืช ถ้ามีวัชพืชมากกว่าร้อยละ 20 ต้องไถพรวนใหม่<br /> <br /> <span style="font-weight: bold;">การเตรียมหลุมปลูก:</span><br /> - ระยะปลูกระหว่างแถวและต้น 2x2 เมตร<br /> - ขนาดหลุมปลูก กว้าง ยาว ลึก 30x30x30 เซนติเมตร<br /> - รองก้นหลุมด้วยดินผสมปุ๋ยอินทรีย์ ด้วย 5 กิโลกรัมต่อหลุม<br /> <br /> <span style="font-weight: bold;">การเตรียมพันธุ์และการปลูก:</span><br /> - ใช้หน่อพันธุ์ที่สมบูรณ์ ปราศจากศัตรูพืช มีความยาวหน่อ 25-35 เซนติเมตร มีใบแคบ 2-3 ใบ<br /> - วางหน่อพันธุ์ที่ก้นหลุม จัดวางให้ด้านที่ติดต้นแม่อยู่ในทิศทางเดียวกัน เพื่อให้มีการออกดอกไปในทิศทางเดียวกัน และสะดวกในการดูแลรักษา<br /> - กลบดินและกดดินบริเวณโคนต้นให้แน่น คลุมดินด้วยฟางข้าวหรือหญ้าแห้ง และรดน้ำให้ชุ่ม<br /> <br /> <span style="font-weight: bold; text-decoration: underline;">การดูแลรักษา</span><br /> <br /> <span style="font-weight: bold;">การให้น้ำ:</span><br /> ต้องให้น้ำอย่างสม่ำเสมอตลอดฤดูปลูก เมื่อหน้าดินแห้งต้องให้น้ำ (โดยเก็บตัวอย่างดินจากผิวดินลึก15 เซนติเมตร กำเป็นก้อน ถ้าแบมือแล้วแตกร่วงควรให้น้ำเพิ่มแก่ต้นกล้วย)<br /> <br /> <span style="font-weight: bold;">การให้ปุ๋ย:</span><br /> - ใส่ปุ๋ยครั้งที่ 1 และ 2 เมื่อกล้วยหอมอายุ 1 และ 3 เดือน ด้วยสูตร 20-10-10 หรือ 15-15-15 หรือสูตร ใกล้เคียงอัตรา 125-250 กรัมต่อต้นต่อครั้ง<br /> - ใส่ปุ๋ยครั้งที่ 3 และ 4 เมื่ออายุ 5 และ 7 เดือน ด้วยสูตร 13-13-21 หรือสูตรใกล้เคียง อัตรา 125-250 กรัมต่อต้นต่อครั้ง<br /> - ใส่ปุ๋ยอินทรีย์ (ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก) ปีละ 1-2 ครั้ง<br /> <br /> <span style="font-weight: bold;">การแต่งหน่อ:</span><br /> หลังจากปลูกกล้วยประมาณ 5 เดือน ให้แต่งหน่อ เพื่อให้ต้นแม่มีความสมบูรณ์<br /> <br /> <span style="font-weight: bold;">การค้ำยันต้น:</span><br /> ต้องใช้ไม้ค้ำยันหรือดามกล้วยทุกต้น ที่ออกปลีแล้ว เพื่อป้องกันลำต้นหักล้ม และตรวจดูการค้ำยันให้อยู่ในสภาพที่มั่นคงแข็งแรง<br /> <br /> <span style="font-weight: bold;">การหุ้มเครือ และตัดใบธง:</span><br /> การหุ้มเครือกระทำหลังจากตัดปลีไม่เกิน 15 วัน เพื่อให้ผิวกล้วยสวย และป้องกันแมลงทำลายด้วยถุงพลาสติกสีฟ้า แบบเปิดด้านล่าง โดยหุ้มทั้งเครือ และหุ้มทุกเครือ ส่วนการตัดใบธง ตัดเมื่อใบธงเริ่มหักก่อนที่จะเสียดสีกับผิวกล้วย</span> <div style="text-align: center;"> <span id="ctl00_cphTop_DataList1_ctl00_Label1"><iframe allowfullscreen="" frameborder="0" height="225" src="http://www.youtube.com/embed/Ql1R3oEtpD4" width="400"></iframe></span></div> <br /> <span id="ctl00_cphTop_DataList1_ctl00_Label1"><span style="font-weight: bold; text-decoration: underline;">ระยะเวลาในการให้ผลผลิตของกล้วยหอมทอง :</span><br /> ประมาณ 10 เดือนหลังจากปลูก กล้วยจะเริ่มแทงปลีออกมา การที่กล้วยจะออกปลีช้าหรือเร็วนั้นขึ้นอยู่กับลักษณะของหน่อกล้วยว่ามีความ แข็งแรงสมบูรณ์ดีหรือไม่ รวมทั้งการดูแลรักษาเมื่อกล้วยแทงปลีจนสุด(กล้วยหวีตีนเต่าโผล่ &ndash; กล้วยตีนเต่าหมายถึงกล้วยหวีสุดท้ายที่มีลักษณะไม่สมบูรณ์ ) ให้ตัดปลีทิ้ง หรือจะตัดปลีหลังจากปลีโผล่มาประมาณ 10-12 วัน ถ้าไม่มีการตัดปลีกล้วยทิ้งผลกล้วยจะเจริญเติบโตไม่เต็มที่<br /> <br /> หลังจาก ตัดปลีประมาณ 90-110 วัน กล้วยจะแก่พอดี สามารถสังเกตได้จากกล้วย หวีสุดท้ายจะเริ่มกลม สีที่ผลจางลงกว่าเดิม(สีเขียวอ่อน) ถ้าปล่อยให้กล้วยแก่คาต้นมากเกินไปจะสบกับปํญหากเรื่องเปลือกกล้วยที่แตก ทำให้ผลผลิตเสียหาย<br /> <br /> ในปีที่2และ3 จะเรียกกล้วยที่มีอายุเหล่านี้ว่ากล้วยตอ เมื่อถึงเวลาที่ตัดเครือกล้วยออกแล้ว เกษตรกรจะตัดต้นแม่ออก เพื่อลดความหนาแน่นและการแข่งขันในการหาอาหาร แต่การตัดต้นกล้วยนั้นควรจะตัดให้เหลือตอสูงประมาณ 1.5-2 เมตร เพื่อให้หน่อที่แตกใหม่มีอาหารที่สมบูรณ์และน้ำที่ถูกกักเก็บไว้ในตอกล้วยจะ ช่วยเลี้ยงหน่อที่เหลือให้เจริญต่อไปได้ การเลี้ยงตอนั้นจะเลี้ยงไว้จนตอแห้งแล้วจึงตัดออก<br /> <br /> <span style="font-weight: bold; text-decoration: underline;">การตัดหน่อกล้วยไว้สำหรับปีต่อไป :</span><br /> หน่อกล้วยที่สมควรจะคัดไว้เป็นหน่อที่ให้ผลผลิตในปีต่อไป ควรจะคัดหน่อกล้วยที่มีลักษณะ ดังนี้<br /> 1. ควรเป็นหน่อใต้ดิน ลำต้นแวบ อยู่ห่างจากโคนต้นแม่ประมาณ 10 นิ้ว ควรเหลือไว้ประมาณ 25 หน่อ ที่อยู่ตรงกันข้าม<br /> 2. ถ้าใช้ระยะปลูก 3 x 3 เมตร ควรคัดหน่อกล้วยอีกครั้งหนึ่งจาก 2 หน่อ ให้เหลือเพียงหน่อเดียวหรือเหลือไว้ไม่เกิน 2 หน่อ ซึ่งจะทำให้แปลงกล้วยทึบ ลำต้นจะสูงชะลูดและหักล้มได้ง่าย<br /> <br /> <span style="font-weight: bold; text-decoration: underline;">ปัญหาและอุปสรรคในการเพาะปลูกกล้วยหอมทอง :</span><br /> 1.กล้วยหอมทองมีลำต้นสูง เครือใหญ่ จึงมีปัญหาในการหักล้มก่อนกล้วยจะแก่ได้ง่าย<br /> 2. ต้องสิ้นเปลืองค่าไม้ค้ำ<br /> 3. ถ้าปลูกมากเกินไปในท้องถิ่นหนึ่งกล้วยจะล้นตลาด<br /> <br /> ที่มา</span>http://www.nanagarden.com Sun, 15 Jul 2012 12:34:00 +0700 การปลูกข้าวโพดหวาน http://rajsimafarm.myreadyweb.com/article/topic-18499.html <p style="text-align: left;"> <strong>ข้าวโพดหวาน</strong> อยู่ใน<strong> ตระกูล Gramineae </strong>ซึ่งเป็นตระกูลเดียวกับหญ้าหรือข้าว มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Zeamays Line var. rugasa หรือ saccharata <strong>ข้าวโพดหวาน</strong>มี คุณประโยชน์มากมาย นอกจากจะใช้รับประทานเป็นผักสดแล้ว ยังสามารถนำไปแปรรูปได้หลาย รูปแบบ เช่น ข้าวโพดหวานบรรจุึกระป๋องทั้งฝัก หรือบรรจุกระป๋องเฉพาะเมล็ด ทำ<strong>ครีมข้าวโพดหวาน</strong> <strong>ข้าวโพดแช่แข็ง</strong> ซึ่งผลิตภัณฑ์ ต่างๆ เหล่านี้ สามารถส่งไปจำหน่ายยังตลาดต่างประเทศ เช่น ญี่ปุ่น เกาหลี จีน และกลุ่มประเทศในแถบยุโรป</p> <h4 style="text-align: left;"> <span style="text-decoration: underline;">ฤดูปลูก</span></h4> <p style="text-align: left;"> <strong>ข้าวโพดหวาน</strong>สามารถ ปลูกได้ตลอดปี แต่นิยมปลูกกันมากในช่วงฤดูฝน และสามารถปลูกได้ดีในดินทุกสภาพ แต่จะขึ้นได้ดีในสภาพดินร่วนปนทราย จะทำให้ผลผลิตดีและเก็บเกี่ยวได้เร็วกว่าความเป็นกรด-ด่าง ของดินที่เหมาะสมอยู่ในช่วง 6.0-6.5 ข้าวโพดหวานต้องการแสงแดด เต็มที่ตลอดวัน</p> <p> <a href="http://www.vegetweb.com/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B9%E0%B8%81%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B9%82%E0%B8%9E%E0%B8%94%E0%B8%AB%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%99/"><img alt="การปลูกข้าวโพดหวาน Sweet Corn" class="alignleft" height="200" src="http://extension.missouri.edu/explore/images/g06390photo01.jpg" title="การปลูกข้าวโพดหวาน Sweet Corn" width="190" /></a></p> <h4 style="text-align: left;"> <span style="text-decoration: underline;">อุณหภูมิที่เหมาะสม</span></h4> <p style="text-align: left;"> อุณหภูมิที่เหมาะสมในการปลูก<strong>ข้าวโพดหวาน</strong> เพื่อให้ได้ผลผลิตสูงที่สุดจะอยู่ในช่วง 24-30 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิกลางคืน อยู่ในช่วง 15-18 องศาเซลเซียส จะทำให้<strong>ข้าวโพดหวาน</strong>มีคุณภาพดีและมีความหวานสูง</p> <h4 style="text-align: left;"> <span style="text-decoration: underline;">การเตรียมแปลงปลูก</span></h4> <p style="text-align: left;"> <strong>การปลูกข้าวโพดหวาน</strong>จะแตกต่างจากการปลูกข้าวโพดไร่ เพราะ<strong>ข้าวโพดหวาน</strong>ต้อง ดูแล และปฏิบัติอย่างพิถีพิถัน เช่นเดียวกับการ ปลูกพืชผัก จึงจะได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ ดังนั้นในการเตรียมดินและการปลูกต้องการทำอย่างประณีต โดยการไถดินลึกประมาณ 15-20 เซนติเมตร แล้วตากทิ้งไว้ 7-10 วัน เพื่อกำจัดไข่แมลงและเมล็ดวัชพืช หากมีการใส่ปุ๋ยคอกหรือหว่านปูนขาวเพื่อปรับ สภาพดินควรใส่ในช่วงนี้ แล้วจึงไถพรวนอีกครั้ง จากนั้นวัดระยะห่างระหว่างแถวประมาณ 80-100 เซนติเมตร ความยาวขึ้นอยู่กับ พื้นที่ ทำการขุดเป็นร่องลึกประมาณ 15-20 เซนติเมตร ถ้าหากสภาพดินแห้งไม่มีความชื้น ควรปล่อยน้ำเข้าตามร่อง หรือทำให้ดิน มีความชื้นบริเวณ</p> <h4 style="text-align: left;"> <span style="text-decoration: underline;">การปลูกข้าวโพดหวาน</span></h4> <p style="text-align: left;"> ทำการเจาะหลุมปลูกบริเวณข้างๆ ร่อง ใช้ระยะห่างระหว่างหลุม(ต้น) ประมาณ 25-35 เซนติเมตร นำเมล็ด<strong>ข้าวโพดหวาน</strong>หยอด ลงไป หลุมละ 1-2 เมล็ด ในพื้นที่ 1 ไร่ จะใช้เมล็ดพันธุ์ประมาณ 1-1.5 กิโลกรัม หลังหยอดเมล็ดแล้วไม่ควรปล่อยดินแห้งเกินไป ควรให้ดินมีความชื้นอย่างสม่ำเสมอ ไม่ควรให้น้ำมากเกินไป ซึ่งจะทำให้เมล็ดข้าวโพดเน่าได้ หลังจากหยอดเมล็ดพันธุ์ 5-7 วัน ข้าวโพดก็จะเริ่มงอก ให้สังเกตุดูว่าถ้าหลุมที่ไม่งอกให้รีบปลูกซ่อมทันที</p> <h4 style="text-align: left;"> <span style="text-decoration: underline;">การปฏิบัติดูแลรักษาข้าวโพดหวาน</span></h4> <p style="text-align: left;"> - <strong>การถอนแยกต้น</strong> ควรกระทำหลังจากหยอดเมล็ด 12-14 วัน โดยการถอนแยกให้เหลือหลุมละ 1 ต้น<br /> - <strong>การให้ปุ๋ย</strong><br /> <span style="text-decoration: underline;">ครั้งที่ 1</span> หลังจากหยอดเมล็ดประมาณ 14-10 วัน โดยการใส่ปุ๋ย 46-0-0 ผสมกับปุ๋ย 15-15-15 ในอัตรา 1:1 (ประมาณ 50 ก.ก./ไร่) โดยหว่านที่ร่องน้ำข้างๆ ต้น แล้วกลบโคนต้น<br /> <span style="text-decoration: underline;">ครั้งที่ 2</span> เมื่อข้าวโพดหวานเริ่มติดฝักอ่อนโดยการใส่ปุ๋ยสูตร 14-14-21 หรือ 13-13-21 อัตราประมาณ 50 ก.ก./ไร่ โดยหว่าน ที่ร่องพื้นแล้วกลบโคนต้น<br /> - <strong>การใ้หน้ำ</strong> ให้น้ำอย่างสม่ำเสมออย่าให้ขาดน้ำ โดยปล่อยเข้าตามร่องน้ำหรือให้แบบสปริงเกอร์<br /> - <strong>การกำจัดวัชพืช</strong> กระทำพร้อมๆ กับการกลบโคนต้นและการให้ปุ๋ย<br /> - <strong>การฉีดพ่นสารป้องกันกำจัดโรคและแมลง</strong> การปลูกข้าวโพดหวานต้องระวังในเรื่องของหนอนเจาะฝัก หรือเจาะลำต้น ควรฉีดพ่น ยาพวกคาร์บาริล หรือยาพวกถูกตัวตาย เช่น เมทโธมิล</p> <h4 style="text-align: left;"> <span style="text-decoration: underline;">การเก็บเกี่ยวและการรักษา</span></h4> <p style="text-align: left;"> <strong>การเก็บเกี่ยวข้าวโพดหวาน</strong>เป็นปัจจัยที่สำคัญที่สุด ที่จะทำให<strong>้ข้าวโพดหวาน</strong>มคุณภาพ ดีหรือเลว ไม่ว่าจะเป็นข้าวโพดหวานเพื่อส่ง โรงงานหรือจำหน่ายฝักส ควรเลือกเก็บเกี่ยวในระยะที่มีน้ำตางสูงที่สุด และคุณภาพดีที่สุด หรือระยะที่เรียกว่า <strong>ระยะน้ำนม(Milk Stage) </strong>หากเลยระยะนี้ไปแล้วปริมาณน้ำตาลจะลดลงและมีแป้งเพิ่มขึ้น การเก็บเกี่ยว<strong>ข้าวโพดหวาน</strong>มีหลักพิจารณาง่ายๆ คือ</p> <ol style="text-align: left;"> <li> นับอายุ หลังจากวันหยอดเมล็ด วิธีการนี้ต้องทราบอายุของ<strong>ข้าวโพดหวาน</strong>แต่ ละพันธุ์ว่าเป็นพันธุ์หนัก, เบา หรือปานกลาง เช่นพันธุ์เบา อายุ 55-65 วัน พันธุ์ปานกลาง 70-85 วัน และพันธุ์หนักตั้งแต่ 90 วันขึ้นไป</li> <li> เก็บสุ่มตัวอย่างในแปลงมาตรวจดู วิธีนี้แน่นอน และนิยมกระทำกัีนมากที่สุด การเก็บเกี่ยว<strong>ข้าวโพดหวาน</strong> ควรเก็บเกี่ยวในเวลา เช้าตรู่และรีบส่งตลาดทันที ไม่ควรทิ้งไว้เกิน 24 ชั่วโมง เพราะจะทำให้น้ำตาลลดลง</li> </ol> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;<span style="color:#d3d3d3;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </span><span style="color: rgb(211, 211, 211);">ขอบคุณข้อมูล http://www.vegetweb.com</span> Thu, 12 Jul 2012 08:29:00 +0700 การปลูกไผ่เลี้ยง http://rajsimafarm.myreadyweb.com/article/topic-18460.html <b><font size="3"><font color="Red"><font size="6">&nbsp;</font></font><font color="Magenta">พันธุ์ไผ่เลี้ยง </font><br /> 1.พันธ์หนัก เป็นพันธุ์ที่ให้ผลผลิตหน่อได้ปกติในช่วงฤดูฝน (มิถุนายน – สิงหาคม) แต่ถ้าจะผลิตเป็นหน่อไผ่นอกฤดูหรือต้นฤดูฝน ผลผลิตที่ได้จะไม่คุ้มกับทุน 2.พันธุ์เบา เป็นพันธุ์ที่สามารถให้หน่อไผ่ ตกในช่วงฤดูฝน และสามารถผลิตเป็นหน่อไผ่นอกฤดูได้ดีมาก เพราะมีลักษณะเด่น คือ ถ้าได้น้ำ ได้ปุ๋ยแล้วจะให้หน่อทันที ถ้าเกษตรกรปลูกมีการบำรุงรักษาดี ผลผลิตก็ยิ่งจะเพิ่มมากขึ้น ฉะนั้น จึงขอแนะนำให้ผู้ที่จะปลูกไผ่เลี้ยงขายหน่อ ควรปลูกพันธุ์เบา<br /> <br /> <img alt="" border="0" src="http://img20.imageshack.us/img20/9490/pai5ta1.jpg" /><br /> <br /> <font color="Magenta">การคัดเลือกพื้นที่ปลูกสวนไผ่</font><br /> สภาพพื้นที่ที่เหมาะสำหรับปลูกไผ่เลี้ยง ควรมีลักษณะเป็นดินร่วนปนทราย ถ้าเป็นดินเหนียว ดินโคกลูกรัง การเจริญเติบโต และการให้หน่อจะไม่ดี<br /> <br /> <br /> <font color="Magenta">การเตรียมดินปลูก </font><br /> -ไถครั้งแตกด้วยรถไถผาน 3 ทิ้งไว้ประมาณ 1 – 2 สัปดาห์ เพื่อกำจัดวัชพืช<br /> -ไถครั้งที่ 2 ด้วยรถไถผาน 7 เพื่อปรับสภาพดินให้ร่วนซุย เหมาะแก่การปลูกพืช<br /> <br /> <img alt="" border="0" src="http://img20.imageshack.us/img20/7417/pai2kx2.jpg" /><img alt="" border="0" src="http://img20.imageshack.us/img20/8844/pai8jd7.jpg" /><br /> <br /> <font color="Magenta">ระยะปลูก </font><br /> สามารถปลูกได้หลายขนาด ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของการใช้เครื่องมือในการจัดการแปลงหลังปลูก<br /> 1.ระยะระหว่างต้น x ระหว่างแถว 2 x 4 ม. 1 ไร่ ปลูกได้ 200 ต้น<br /> 2.ระยะระหว่างต้น x ระหว่างแถว 4 x 4 ม. 1 ไร่ ปลูกได้ 100 ต้น<br /> 3.ระยะระหว่างต้น x ระหว่างแถว 4 x 6 ม. 1 ไร่ ปลูกได้ 66 ต้น<br /> ที่เหมาะสมสำหรับเกษตรกรทั่วไป ควรปลูกระยะ 4 x 4 ม.<br /> <br /> <font color="Magenta">การปลูก</font><br /> 1.ปลูกด้วยตอชำถุง (มีค. – กค.) ขุดหลุ่มขนาด 50 50 50 ซม. รองก้นหลุมด้วยปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักประมาณ 1 ปุ้งกี๋ คลุกเคล้าเข้ากับดินลงในหลุมปลูก ฉีกถุงดำออกอย่าให้ดินแตก นำลงหลุมกลบดินให้แน่น แล้วรดน้ำสัปดาห์ละ 2 ครั้ง (ถ้าฝนไม่ตก)<br /> 2.ปลูกด้วยเหง้า หรือตอไผ่ที่ไม่ได้ชำถุง โดยขุดเหง้าหรือตอไผ่ แล้วนำไปปลูกทันทีด้วยการขุดหลุมเฉพาะ ไม่ต้องรองก้นหลุมด้วยปุ๋ยคอก ปลูกแล้วกลบดินให้แน่น รดน้ำให้ชุ่มสัปดาห์ละ 2 ครั้ง ช่วงที่เหมาะสมในการปลูกโดยวิธีนี้ คือ เดือน มค. – เมย. เหมาะสำหรับผู้ที่มีแหล่งน้ำและสะดวกในการให้น้ำ<br /> <br /> <br /> <font color="Magenta">การดูแลรักษา</font><br /> -ถ้าไม่มีฝนตกควรรดน้ำสัปดาห์ละ 2 ครั้ง<br /> -กำจัดวัชพืชทำความสะอาดแปลงอย่าปล่อยให้หญ้าคลุม<br /> -เมื่อไผ่ปลูกได้ 7 เดือน ควรตัดแต่งกิ่งและลำต้นที่เล็กออกให้เหลือไว้แต่ต้นที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์ กลาง 3 – 5 ซม. แล้วพรวนดินรอบกอ ให้ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก กอละประมาณ 5 – 10 กก. คลุมโคนด้วยเศษหญ้า ใบไม้แห้ง หรือฟางข้าว เพื่อเก็บรักษาความชื้นในดิน ถ้ามีน้ำในไร่นาควรให้น้ำตลอดช่วงฤดูแล้ง เพื่อเร่งการเจริญเติบโต<br /> -เมื่อไผ่มีอายุได้ 8 เดือน ขึ้นไป ก็จะสามารถให้หน่อและเพิ่มจำนวนต้นในแต่ละกอ เพื่อจะได้ปริมาณจำนวนต้นไว้ผลิตหน่อในฤดูต่อไป<br /> <br /> <br /> <font color="Magenta">เทคนิคการตัดแต่งกอและกิ่งไผ่</font><br /> -หลักสำคัญในการตัดแต่งกิ่งไผ่ อยู่ที่ปีที่ 2 ซึ่งจะต้องตัดต้นที่แก่และยู่ชิดกันออก โดยใช้เลื่อยตัดแต่งกิ่งเฉพาะ จะสะดวกให้เหลือจำนวนต้นไว้ในแต่ละกอ ไม่เกิน 12 ตัน ต่อไป (การตัดแต่งควรตัดทุกปีอย่างต่อเนื่อง ปีละ 1 ครั้ง)<br /> -ฤดูกาลที่เหมาะสมในการตัดแต่งกิ่ง คือเดือน ธค. – มค.<br /> -หลังตัดแต่งเสร็จให้ใส่ปุ๋ยคอก หรือปุ๋ยหมัก กอละประมาณ 15 – 20 กก. แล้วให้น้ำทันที เพื่อเร่งให้ได้ผลผลิตหน่อไผ่ช่วงต้นฤดู ซึ่งขายได้ราคาสูง<br /> -ถ้าจะเร่งการออกหน่อ และเพิ่มผลผลิตให้มากยิ่งขึ้น ให้เสริมด้วยปุ๋ยเคมี สูตร 25-7-7 หรือ 46-0-0 กอละประมาณ 2 กำมือ โดยใส่รอบๆ กอ แล้วจึงกลบด้วยปุ๋ยคอกแล้วให้น้ำทันที ถ้าไม่มีน้ำให้ก็ต้องรอเก็บผลผลิตในฤดูฝนตามปกติ แต่ผลผลิตก็จะได้มากกว่า สวนที่ไม่มีการตัดแต่งใส่ปุ๋ยอย่างแน่นอน<br /> <br /> <img alt="" border="0" src="http://img20.imageshack.us/img20/1083/pic0130jw0ye0.jpg" /><br /> <br /> <font color="Magenta">การเก็บผลผลิตหน่อไผ่ </font><br /> -ขนาดความยาวของหน่อไผ่ที่เหมาะสม 40 – 50 ซม. หรือ ถ้าเห็นหน่อไผ่พ้นดินขึ้นมาให้รออีก 4-6 วัน ก็เก็บเกี่ยวได้<br /> -ช่วงเดือนสิงหาคม ควรคัดเลือกหน่อที่มีลักษณะสมบูรณ์และแตกหน่อออกอยู่ห้างกอไว้เป็นลำต้นต่อไป<br /> -ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ 1,700 กก.<br /> -รายได้เฉลี่ย 17,000 บาท/ไร่<br /> <br /> <br /> <font color="Red">การขยายพันธุ์ไผ่</font><br /> <font color="Magenta">การขยายพันธุ์ไผ่เลี้ยง ทำได้ 2 ลักษณะ</font><br /> <br /> 1.ขยายพันธุ์โดยการขุดเอาเหง้าของลำต้นไผ่ที่มีอายุ 1 ปี แต่ไม่ควรเกิน 1 ปีครึ่ง เมื่อขุดออกมาแล้วควรตัดให้เหลือตอไว้ประมาณ 40 ซม. และตัดแต่งรากออกพอประมาณ เพื่อสะดวกในการปักชำ ถุงที่เหมาะสมควรเป็นถุงดำขนาด 5 x 11 นิ้ว ขึ้นไป ส่วนผสมของดินบรรจุถุง คือ หน้าดิน 1 ส่วน และแกลบดำ 1 ส่วน ผสมคลุกเคล้า แล้วใส่ลงในถุงนำเหง้าไผ่ที่เรียมไว้ลงถุงกลบดินแกลบให้แน่น ตั้งถุงเรียงไว้กลางแจ้ง รดน้ำให้พอชุ่มอยู่ตลอดประมาณ 15 วัน ก็จะเริ่มแตกแขนง<br /> ครบ 2 เดือน นำไปปลูกได้ ช่วงระยะเวลาที่เหมาะสมในการขยายพันธุ์ตามแบบที่ 1 คือ เดือน กพ. – พค.<br /> <br /> 2.ขยายพันธุ์โดยการใช้เหง้า จากส่วนที่เป็นเหง้าของหน่อที่ถูกตัดไปขาย แล้วเหลือตอติดดินไว้แตกแขนงขึ้นมารอให้แขนงที่แตกมาใหม่ มีใบแก่ (แตกใบขิง) จึงขุดเหง้าพร้อมแขนงนี้มาชำถุง แต่ต้องตัดกิ่งแขนงส่วนบนออกให้เหลือติดเหง้าขึ้นไปยาวประมาณ 30 – 40 ซม. ใช้วัสดุชำเหมือนกับการขยายพันธุ์แบบที่ 1 ช่วงเวลาที่เหมาะสมในการชำแบบที่ 2 คือ ตั้งแต่เดือน พย. – พค.<br /> <br /> <img alt="" border="0" src="http://img20.imageshack.us/img20/8215/pic0131gu5uz9.jpg" /><br /> <br /> <font color="Magenta">โรคและแมลงศัตรูไผ่ </font><br /> -โรค ยังไม่มีปรากฏที่ชัดเจน<br /> -แมลงศัตรู<br /> 1.ด้วงเจาะหน่อไผ่ โดยทั่วไปยังไม่มีการระบาดถึงระดับเศรษฐกิจ<br /> 2.หนู กัดกินและทำลายหน่อไม้ เกษตรกรผู้ปลูกสามารถดูแลและควบคุมได้ และยังไม่มีการระบาดถึงระดับเศรษฐกิจ<br /> <br /> <font color="Magenta">ไผ่ออกดอกแล้วแห้งตาย (ไผ่เป็นขี) </font><br /> -สาเหตุ เกิดจากเหล่ากอต้นพันธุ์มีอายุมาก ซึ่งการนำมาขยายพันธุ์ไม่ทราบว่ากี่ชั่วอายุแล้ว<br /> -การแก้ไข ถ้าหากต้นที่ปลูกไปแล้วออกดอกให้ขุดทิ้งแล้วปลูกทดแทน </font></b> Wed, 11 Jul 2012 16:37:00 +0700 การปลูกสะตอ http://rajsimafarm.myreadyweb.com/article/topic-18458.html <center> <h1> การเพาะปลูกสะตอ</h1> </center> <br /> <br /> <div style="float:left;margin-right:15px;"> &nbsp;</div> สะตอปลูกง่าย เหมือนไม้ยืนต้นชนิดอื่น ๆ แต่เกษตรกรนิยมปลูกเป็นพืชแซมหรือไม้บังร่ม เพราะโตเร็วให้ร่มเงาดี<br /> ระยะปลูก ควรใช้ระยะ 12 x 12 เมตร ใน 1 ไร่ จะปลูกได้ 11 ต้น ในขณะต้นสะตอเล็กสามารถปลูกพืชแซมได้<br /> <br /> หลุมปลูก ใช้ขนาด 1 x 1 x 1 เมตร ใส่ปุ๋ยหินฟอสเฟตรองก้นหลุม ๆ ละ 1 กระป๋องนม พร้อมกับปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก 1 บุ้งกี๋คลุกเคล้ากันแล้สกลบหลุม ให้เต็ม<br /> <br /> ฤดูปลูก ควรปลูกในช่วงต้นฤดูฝน คือในราวเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน<br /> <br /> การปลูก หลังจากเตรียมหลุมปลูกแล้วให้ใช้จอบขุดดินในหลุมให้มีขนาดพอดีเท่ากับถุงที่ ใช้เพาะต้นกล้า กรีดด้านข้างถุงเพาะแล้ววางลงไปในหลุมปลูกใช้ไม้ปักแนบลำต้นผูกเชือกยึดกัน ลมโยก รดน้ำให้ชุ่มชื้น ทำร่มเงาให้โดยอาจใช้ทางมะพร้าวมามุงหลังคาบังแดดทิ้งไว้ประมาณ 1 ปี (ทั้งต้นปลูกจากต้นเพาะเมล็ดและไว้สำหรับทำต้นตอ)<br /> <br /> การให้น้ำ รดน้ำให้ชุ่มชื้นเสมอ สะตอที่ปลูกใหม่ในปีแรก ควรให้น้ำวันเว้นวันในช่วงหน้าแล้ง เมื่ออายุ 2-3 ปี ควรให้น้ำ 2 ครั้งต่อสัปดาห์ ในช่วงหน้าแล้งควรหาเศษพืชคลุมโคนเพื่อรักษาความชื้นสำหรับต้นสะตอที่ให้ผล แล้วระยะที่ต้องการน้ำมาก คือช่วงระยะออกดอกถึงติดฝักจนเก็บเกี่ยวได้ ในช่วงฤดูฝน ควรเตรียมร่องระบายน้ำด้วย<br /> <img alt="สะตอ" src="http://myveget.com/back/picture/1310897487.jpg" /><br /> การพรวนดิน ควรทำตั้งแต่เริ่มปลูกเป็นต้นไป ปีละประมาณ 3 ครั้ง เพื่อช่วยกำจัดวัชพืชและถ่ายเทอากาศในดิน หลังจากให้ผลแล้วควรทำการพรวนดินในช่วงก่อนออกดอกและหลังเก็บเกี่ยวผลผลิต แล้ว<br /> <br /> <br /> ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก ควรใส่ตั้งแต่เริ่มปลูก อัตรา 1-2 ปี๊บต่อต้นเมื่อให้ผลแล้วควรใส่อัตรา 3-4 ปี๊บต่อต้น โดยใส่หลังจากเก็บเกี่ยวแล้วจะทำให้สะตอให้ผลผลิตสม่ำเสมอทุกปี<br /> ปุ๋ยวิทยาศาสตร์ ควรใช้สูตร 15-15-15 หรือ 13-13-21 อัตรา 0.5 กิโลกรัมต่อต้นต่อปี ใส่ก่อนออกฝักและสำหรับต้นที่ให้ฝักแล้วใช้อัตรา 1 กิโลกรัมต่อต้นต่อปี แบ่งใส่ 2 ครั้ง โดยครั้งแรกใส่ก่อนออกดอกและครั้งที่สองใส่หลังจากเก็บเกี่ยวผลผลิต จากนั้นให้ทำการตัดแต่งกิ่งด้วย ควรใส่ปุ๋ยคอกร่วมด้วยอัตราการใส่ ควรเพิ่มขึ้นทุกปี ปีละประมาณ 0.5 กิโลกรัม<br /> <span style="color:#d3d3d3;">ที่มาhttp://myveget.com/108</span> Tue, 10 Jul 2012 20:48:00 +0700 การปลูกมะนาวในบ่อซืเมนต์ http://rajsimafarm.myreadyweb.com/article/topic-18394.html <h3 class="post-title entry-title" itemprop="name"> <a href="http://lemom-farm.blogspot.com/2009/02/blog-post_4001.html">การปลูกมะนาวในบ่อซีเมนต์ </a></h3> <div class="post-header"> &nbsp;</div> <div class="post-body entry-content" id="post-body-9211721167969862259" itemprop="articleBody"> <span style="color:#3333ff;">สำหรับเกษตรกรที่คิดจะปลูกมะนาวในวงบ่อ ซีเมนต์จำนวน 100 บ่อ จะใช้เนื้อที่ประมาณ 1 ไร่เท่านั้น ซึ่งจะใช้เงินลงทุนมากในช่วงเริ่มแรก ส่วนค่าใช้จ่ายหลักจะอยู่ที่วงบ่อซีเมนต์และฝารองซึ่งเมื่อรวมค่าใช้จ่าย กิ่งพันธุ์มะนาว, ระบบน้ำ ฯลฯ รวมเป็นเงินในการปลูกมะนาวในวงบ่อซีเมนต์จำนวน 100 วงบ่อ เป็นเงิน 27,000 บาทโดยประมาณ ต้นมะนาวในวงบ่อเมื่อมีอายุต้นเพียง 8 เดือน จะบังคับให้ต้นออกฤดูแล้งได้โดยใช้หลักการเดียวกับการปลูกลงดินคือคลุม พลาสติกให้กับต้นมะนาวในช่วงเดือนกันยายนและกระตุ้นการออกดอกในเดือนตุลาคม จะได้ผลผลิตมะนาวแก่ในช่วงเดือนมีนาคม-เมษายน ซึ่งเป็นช่วงที่มะนาวราคาแพงที่สุด เท่ากับว่าในการปลูกมะนาวในวงบ่อซีเมนต์จะใช้เวลาเพียงปีเดียวเท่านั้น สามารถเก็บผลผลิตได้ในช่วงฤดูแล้ง</span></div> <div class="post-footer"> <div class="post-footer-line post-footer-line-1"> &nbsp;</div> </div> <div class="post-outer"> <div class="post hentry" itemscope="itemscope" itemtype="http://schema.org/BlogPosting"> <a name="3068918193083091766"></a> <h3 class="post-title entry-title" itemprop="name"> <a href="http://lemom-farm.blogspot.com/2009/02/blog-post_5550.html">การเริ่มต้นจัดผังปลูกมะนาวในวงบ่อซีเมนต์</a></h3> <div class="post-header"> &nbsp;</div> <div class="post-body entry-content" id="post-body-3068918193083091766" itemprop="articleBody"> <span style="color:#3333ff;">รายละเอียดของการเริ่มต้นการปลูกมะนาวในวงบ่อ ซีเมนต์ จะต้องวัดพื้นที่ กว้างxยาว ก่อน เพื่อจะหาพื้นที่ หลังจากนั้น เว้นทางเดินประมาณ 2 เมตร ระยะปลูกระหว่างต้น 1.20 เมตร ระยะระหว่างแถว 1.50 เมตร ปลูกแบบแถวคู่แล้วเว้นเป็นทางเดิน 2 เมตร สภาพพื้นที่ปลูกจะต้องปรับให้เรียบเหมือนกับลานตากข้าว วัดระยะการวางวงบ่อ การวางวงบ่อซีเมนต์พยายามวางให้เป็นเลขคู่เพื่อง่ายต่อการวางระบบน้ำและ คำนวณแรงดันน้ำ แท็งก์จะแบ่งออกเป็น 2 ชุด ชุดแรกจะก่อให้สูง ประมาณ 5 วงบ่อ หรือมีความจุน้ำได้ 1,200 ลิตรจะใช้แท็งก์นี้เพื่อผสมปุ๋ยน้ำชีวภาพแล้วเปิดน้ำดีเข้าไปผสมปล่อยไปให้ ต้นมะนาวในวงบ่อได้โดยตรง ส่วนแท็งก์อีกชุดหนึ่งจะก่อให้สูงประมาณ 9 วงบ่อ จำนวน 2 แท็งก์ เพื่อกักเก็บน้ำสะอาดแล้วช่วยในเรื่องของแรงดัน</span></div> <div class="post-footer"> <div class="post-footer-line post-footer-line-1"> &nbsp;</div> </div> </div> </div> <div class="post-outer"> <div class="post hentry" itemscope="itemscope" itemtype="http://schema.org/BlogPosting"> <a name="6246796361144613870"></a> <h3 class="post-title entry-title" itemprop="name"> <a href="http://lemom-farm.blogspot.com/2009/02/blog-post_2325.html">การเตรียมดินปลูกมะนาวและขนาดของวงบ่อซีเมนต์</a></h3> <div class="post-header"> &nbsp;</div> <div class="post-body entry-content" id="post-body-6246796361144613870" itemprop="articleBody"> <span style="color:#3333ff;">ขนาดของวงบ่อซีเมนต์แนะนำให้เกษตรกรใช้ จะใช้ขนาดวงเส้นผ่าศูนย์กลาง 80 เซนติเมตร แต่เดิมฝาวงบ่อคุณพิชัยใช้ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 80 เซนติเมตร เท่ากับขนาดของวงบ่อ เมื่อปลูกไปนาน 2-3 ปี พบว่า รากของต้นมะนาวจะโผล่ออกมานอกวงและชอนลงไปในดิน ทำให้ควบคุมในเรื่องของการบังคับให้ออกนอกฤดูได้ยากมากขึ้น ปัจจุบัน จึงได้แนะนำเกษตรกรและแก้ไขให้ซื้อฝาวงบ่อที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางยาวกว่าเส้น ผ่าศูนย์กลางของวงบ่อ ใช้ฝาวงบ่อขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ประมาณ 90 เซนติเมตร กว้างกว่า 10 เซนติเมตรดินผสมที่จะใช้ปลูกมะนาวในวงบ่อซีเมนต์ จะใช้วัสดุปลูกหลัก 3 ชนิด คือ หน้าดิน 3 ส่วน ขี้วัวเก่า 1 ส่วน และเปลือกถั่วเขียว 2 ส่วน ผสมคลุกเคล้ากัน การใช้เปลือกถั่วเขียวจะช่วยให้สภาพดินมีการระบายน้ำที่ดี ถ้าใช้แค่หน้าดินผสมกับขี้วัวจะทำให้ดินปลูกแน่น เวลาให้น้ำไป 3-4 วัน น้ำยังไม่ถึงข้างล่างของวงบ่อ ยังได้ยกตัวอย่างปริมาณของดินที่จะใช้ในการปลูกมะนาว จำนวน 100 วงบ่อ จะต้องใช้หน้าดินประมาณ 1 คันรถสิบล้อ เทคนิคในการผสมวัสดุปลูกจะต้องปูพื้นด้วยหน้าดินเป็นขั้นแรก หลังจากนั้น ใส่ขี้วัวเก่าเป็นชั้นที่ 2 แล้วตามด้วยเปลือกถั่วเขียวเป็นชั้นบนสุด หลังจากนั้นใช้เครื่องตีพรวนติดรถไถจะเร็วกว่าใช้แรงงานคน</span></div> <div class="post-footer"> <div class="post-footer-line post-footer-line-1"> &nbsp;</div> </div> </div> </div> <div class="post-outer"> <div class="post hentry" itemscope="itemscope" itemtype="http://schema.org/BlogPosting"> <a name="3832080848127295227"></a> <h3 class="post-title entry-title" itemprop="name"> <a href="http://lemom-farm.blogspot.com/2009/02/blog-post_429.html">การใส่วัสดุปลูกลงบ่อซีเมนต์มีเทคนิค</a></h3> <div class="post-header"> &nbsp;</div> <div class="post-body entry-content" id="post-body-3832080848127295227" itemprop="articleBody"> <span style="color:#3333ff;">ที่ผ่านมาเกษตรกรที่ปลูกมะนาวในวงบ่อซีเมนต์ ส่วนใหญ่จะใส่วัสดุปลูกในวงบ่อซีเมนต์เพียงเสมอวงบ่อเท่านั้น เมื่อรดน้ำไปได้เพียงแค่สัปดาห์เดียว วัสดุปลูกจะยุบตัวลงมาประมาณ 1 คืบมือ ถ้าเกษตรกรเติมวัสดุปลูกลงไปจะไปกลบลำต้นมะนาว ปัญหาเรื่องโรคโคนเน่าจะตามมา ดังนั้น ในการใส่วัสดุปลูกลงในวงบ่อซีเมนต์จะต้องใส่ให้พูนเป็นภูเขาเลย และที่จะต้องเน้นเป็นพิเศษขณะที่ใส่วัสดุปลูกลงในวงบ่อนั้นคือ จะต้องขึ้นเหยียบวัสดุปลูกขอบๆ วงบ่อ บริเวณตรงกลางไม่ต้องเหยียบ การใส่วัสดุปลูกให้เป็นภูเขาจะช่วยในเรื่องดินยุบลงมาเสมอวงบ่อได้นานถึง 1 ปี</span></div> <div class="post-footer"> <div class="post-footer-line post-footer-line-1"> &nbsp;</div> </div> </div> </div> <div class="post-outer"> <div class="post hentry" itemscope="itemscope" itemtype="http://schema.org/BlogPosting"> <a name="2430705387372298330"></a> <h3 class="post-title entry-title" itemprop="name"> <a href="http://lemom-farm.blogspot.com/2009/02/blog-post_1649.html">วิธีการปลูกมะนาวในวงบ่อซีเมนต์ที่ถูกต้อง</a></h3> <div class="post-header"> &nbsp;</div> <div class="post-body entry-content" id="post-body-2430705387372298330" itemprop="articleBody"> <span style="color:#3333ff;">หลังจากที่ใส่วัสดุปลูกลงในบ่อซีเมนต์เรียบ ร้อยแล้ว ให้เกษตรกรขุดเปิดปากหลุมให้มีขนาดเท่ากับขนาดของถุงที่ใช้ชำต้นมะนาว (โดยปกติถ้าใช้กิ่งตอนมะนาว ควรจะชำต้นมะนาวไว้นานประมาณ 1 เดือน เท่านั้น ไม่แนะนำให้ซื้อต้นมะนาวที่ชำมานานแล้วหลายเดือน หรือชำค้างปี เนื่องจากจะพบปัญหาเรื่องรากขด ทำให้เจริญเติบโตช้าหรือต้นแคระแกร็น) รองก้นหลุมด้วยปุ๋ยเคมีสูตรเสมอ เช่น สูตร 16-16-16 อัตราประมาณ 1 กำมือ ถอดถุงดำปลูกต้นมะนาวให้พอดีกับระดับดินเดิม กลบดินแล้วใช้เท้าเหยียบรอบๆ ต้น เพื่อไม่ให้โยกคลอน ปักไม้เป็นหลักกันลมโยกและแนะนำให้ใช้ตอกมัดต้นมะนาวไว้กับหลัก ตอกจะผุเปื่อยหลังจากปลูกไปนานประมาณ 2 เดือน ต้นมะนาวตั้งตัวได้แล้ว แต่ที่หลายคนได้ใช้ปอฟางหรือพลาสติคทาบกิ่งมัดกับหลักจะอยู่ได้นานก็จริง แต่ปัญหาที่จะตามมาจะทำให้ลำต้นมะนาวคอด มีผลต่อการเจริญเติบโตของต้น หลังจากปลูกเสร็จให้เดินท่อ PE เจาะหัวมินิสปริงเกลอร์และวางท่อ PE พาดไปกับวงบ่อเลยเพื่อสะดวกต่อการทำงาน</span></div> <div class="post-footer"> <div class="post-footer-line post-footer-line-1"> &nbsp;</div> </div> </div> </div> <div class="post-outer"> <div class="post hentry" itemscope="itemscope" itemtype="http://schema.org/BlogPosting"> <a name="569675622405286003"></a> <h3 class="post-title entry-title" itemprop="name"> <a href="http://lemom-farm.blogspot.com/2009/02/blog-post_8830.html">ปลูกมะนาวในวงบ่อซีเมนต์ได้ตลอดทั้งปี</a></h3> <div class="post-header"> &nbsp;</div> <div class="post-body entry-content" id="post-body-569675622405286003" itemprop="articleBody"> <span style="color:#3333ff;">ในการปลูกมะนาวในวงบ่อซีเมนต์สามารถปลูกได้ ตลอดทั้งปี ปลูกไปแล้วนับไปอีก 8 เดือน เกษตรกรสามารถบังคับให้ต้นออกดอกได้ ถ้าเกษตรกรจะบังคับให้มะนาวออกฤดูแล้งในรุ่นแรกแนะนำให้ปลูกต้นมะนาวในช่วง เดือนมกราคม ในช่วงเดือนกันยายน-ตุลาคม ในปีเดียวกันบังคับต้นให้ออกดอกได้โดยใช้หลักการเหมือนกับที่ปลูกลงดิน ผลผลิตมะนาวฤดูแล้งจะไปแก่และเก็บผลผลิตขายได้ราคาแพงในช่วงเดือน มีนาคม-เมษายนของปีถัดไป เท่ากับว่าการปลูกมะนาวในวงบ่อซีเมนต์ใช้เวลาปลูกเพียงปีเศษเท่านั้น เกษตรกรสามารถเก็บมะนาวฤดูแล้งขายได้</span></div> <div class="post-footer"> <div class="post-footer-line post-footer-line-1"> &nbsp;</div> </div> </div> </div> <div class="post-outer"> <div class="post hentry" itemscope="itemscope" itemtype="http://schema.org/BlogPosting"> <a name="5985203368369722962"></a> <h3 class="post-title entry-title" itemprop="name"> <a href="http://lemom-farm.blogspot.com/2009/02/blog-post_8589.html">วิธีการรดน้ำต้นมะนาวในวงบ่อซีเมนต์ ทำอย่างไร</a></h3> <div class="post-header"> &nbsp;</div> <div class="post-body entry-content" id="post-body-5985203368369722962" itemprop="articleBody"> <span style="color:#3333ff;">ในการผลิตมะนาวฤดูแล้งในวงบ่อซีเมนต์ ให้ใช้พลาสติคคลุมปากบ่อซีเมนต์เพื่อป้องกันน้ำหรือฝนที่ตกลงมาในช่วงแรกๆ แต่พบปัญหาว่าเมื่อเกษตรกรนำพลาสติคไปคลุมกลับรักษาความชื้นให้กับต้นมะนาว ใช้เวลานานวันกว่าดินจะแห้ง หรือเลือกใช้หลักการ 'ฝนทิ้งช่วง' ในแต่ละปีช่วงเดือนสิงหาคม-กันยายน ของทุกปี จะมีช่วงเวลาที่ฝนทิ้งช่วง ในการผลิตมะนาวฤดูแล้งในวงบ่อซีเมนต์ ถ้าฝนไม่ตกติดต่อกัน 3-4 วัน ดินในวงบ่อจะเริ่มแห้ง ใบมะนาวจะเริ่มเหี่ยว หลังจากนั้นฉีดกระตุ้นให้ต้นมะนาวออกดอกและติดผลได้</span></div> <div class="post-footer"> <div class="post-footer-line post-footer-line-1"> &nbsp;</div> </div> </div> </div> <div class="post-outer"> <div class="post hentry" itemscope="itemscope" itemtype="http://schema.org/BlogPosting"> <a name="8570224351255889416"></a> <h3 class="post-title entry-title" itemprop="name"> <a href="http://lemom-farm.blogspot.com/2009/02/2.html">ผลิตมะนาวฤดูแล้งในวงบ่อซีเมนต์ 2 รุ่น ต่อปี</a></h3> <div class="post-header"> &nbsp;</div> <div class="post-body entry-content" id="post-body-8570224351255889416" itemprop="articleBody"> <span style="color:#3333ff;">ในช่วงเริ่มแรกของการบังคับมะนาวฤดูแล้งจะทำ ให้ต้นมะนาวออกดอกเพียงรุ่นเดียวคือ ช่วงเดือนตุลาคมและไปเก็บผลผลิตในช่วงเดือนเมษายนเท่านั้น ทำให้จะต้องคอยปลิดดอกมะนาวทิ้งตั้งแต่เดือนพฤษภาคมเรื่อยมาจนถึงเดือน สิงหาคม-กันยายน แต่ช่วงเวลา 3-4 ปีที่ผ่านมาสภาวะตลาดมะนาวผลผลิตจะเริ่มมีราคาดีตั้งแต่เดือนมกราคมเรื่อยไป จนถึงเดือนเมษายน จึงปล่อยให้มะนาวให้ผลผลิต 2 รุ่น คือมีผลผลิตขายในช่วงเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์รุ่นหนึ่ง (บังคับให้ต้นออกดอกในช่วงเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม) และมีผลผลิตในช่วงเดือนมีนาคม-เมษายนอีกรุ่นหนึ่ง (บังคับให้ออกดอกในช่วงเดือนกันยายน-ตุลาคม) พอเข้าสู่เดือนพฤษภาคมของทุกปีราคามะนาวจะถูกลง จะตัดแต่งกิ่งมะนาวในช่วงเวลานี้ พร้อมทั้งปลิดผลมะนาวที่ติดอยู่บนต้นทิ้งให้หมด</span></div> <div class="post-footer"> <div class="post-footer-line post-footer-line-1"> &nbsp;</div> </div> </div> </div> <a name="5116500324670867878"></a> <h3 class="post-title entry-title" itemprop="name"> <a href="http://lemom-farm.blogspot.com/2009/02/3.html">ตัดแต่งกิ่งมะนาวในวงบ่อซีเมนต์อย่างหนัก ทุกๆ 3 ปี</a></h3> <div class="post-header"> &nbsp;</div> <span style="color:#3333ff;">ตัดแต่งกิ่งมะนาวตาฮิติในวงบ่อซีเมนต์อย่าง หนัก ทุกๆ 3 ปี โดยจะเริ่มตัดแต่งกิ่งและปลิดผลทิ้งทั้งหมดภายในเดือนพฤษภาคม ในช่วงปีที่ 1-2 จะตัดแต่งบ้างแต่ไม่มากนัก จะมาตัดแต่งหนักเมื่อต้นมีอายุประมาณ 3 ปี ซึ่งในช่วงนั้นมักจะพบว่าต้นมะนาวเริ่มโทรม มีกิ่งแห้งเป็นจำนวนมาก การตัดแต่งกิ่งมีผลทำให้ต้นมะนาวแตกกิ่งออกมาใหม่และได้ผลผลิตมะนาวที่มี คุณภาพ หลังจากตัดแต่งกิ่งเสร็จในเดือนพฤษภาคม ช่วงระหว่างเดือนมิถุนายน-กรกฎาคม เป็นช่วงบำรุงต้นและสะสมอาหารเพื่อจะกระตุ้นการออกดอกรุ่นแรกในเดือนสิงหาคม</span><br /> ที่มาข้อมูล<span style="color:#e6e6fa;">http://lemom-farm.blogspot.com/</span> Mon, 09 Jul 2012 21:20:00 +0700 การเลี้ยงไก่ไข่ http://rajsimafarm.myreadyweb.com/article/topic-18392.html <p> <strong>เงินลงทุน</strong> :&nbsp; ขึ้นอยู่กับจำนวนของไก่ที่เลี้ยง (เครื่องผสมอาหารราคา 30,000 บาท)<br /> <strong>รายได้</strong> :&nbsp; ขึ้นอยู่กับจำนวนไก่ที่เลี้ยง<br /> <strong>แหล่งจำหน่ายพันธุ์ไก่</strong> :&nbsp; กรมปศุสัตว์ ตลาดทั่วไป<br /> <strong>อุปกรณ์</strong> :&nbsp;&nbsp; โรงเรือน เล้าเลี้ยงไก่ หลอดไฟ รางใส่อาหาร รางใส่น้ำ</p> <p> <br /> <strong>วิธีดำเนินการ</strong> :<br /> 1. เลือกสถานที่ให้เหมาะสมในการทำโรงเรือนที่จะเลี้ยงไก่ ต้องทิศทางลม อย่าให้ โรงเรือนถูกแดดจ้า ให้มีลมพัดผ่าน มีการระบายอากาศที่ดี หากอากาศไม่ดี ร้อนจัด จะทำให้ไก่สุขภาพไม่ดี และจะไม่ออกไข่<br /> 2. เมื่อได้ไก่รุ่นมาแล้วก็นำมาให้วัคซีนป้องกันโรคโดยหยอดวัคซีนเข้าทางปาก แล้วนำไปใส่กรงตาข่ายที่สร้างไว้ใน<a href="http://www.thaismefranchise.com/" target="_blank">โรงเรือน</a> กรงละ 2 ตัว หากเลี้ยงกรงละตัวไก่จะเครียด<br /> 3. ให้อาหาร 2 ครั้งต่อวัน ครั้งแรกประมาณตี 4 ครั้งที่ 2 ประมาณบ่ายโมง ส่วนรางน้ำก็เปิดเป็นหยดให้ไก่กินทั้งวัน และต้องล้างรางน้ำทุกวันในตอนเย็น ส่วนรางอาหารนี้ก็ต้องกวาดวันเว้นวัน</p> <p> <strong><span style="text-decoration: underline;">สูตรการให้อาหารไก่ </span></strong></p> <table border="1" style="height: 298px;" width="420"> <tbody> <tr> <td rowspan="2" width="123"> &nbsp;</td> <td align="center" width="59"> ราคา</td> <td align="center" width="94"> ไก่เล็ก</td> <td align="center" width="102"> ไก่เล็ก</td> <td align="center" width="107"> ไก่สาว</td> <td align="center" width="123"> ไก่ไข่</td> </tr> <tr> <td align="center"> (บาท/กก.)</td> <td align="center"> (อายุ 3-6 สัปดาห์)</td> <td align="center"> (อายุ 6-12 สัปดาห์)</td> <td align="center"> (อายุ 12-20 สัปดาห์)</td> <td align="center"> ระยะให้ไข่</td> </tr> <tr> <td> ใบกระถินแห้งป่น</td> <td align="center"> 3.50</td> <td align="center"> 1 ส่วน</td> <td align="center"> 1 ส่วน</td> <td align="center"> 1 ส่วน</td> <td align="center"> 1 ส่วน</td> </tr> <tr> <td> ข้าวโพดป่น</td> <td align="center"> 5.30</td> <td align="center"> 2 ส่วน</td> <td align="center"> 2 ส่วน</td> <td align="center"> 3 ส่วน</td> <td align="center"> 1.5 ส่วน</td> </tr> <tr> <td> รำละเอียด</td> <td align="center"> 5.50</td> <td align="center"> 1 ส่วน</td> <td align="center"> 1 ส่วน</td> <td align="center"> 2 ส่วน</td> <td align="center"> 1.5 ส่วน</td> </tr> <tr> <td> อาหารไก่ไข่เล็ก</td> <td align="center"> 10.33</td> <td align="center"> 6 ส่วน</td> <td align="center"> -</td> <td align="center"> -</td> <td align="center"> -</td> </tr> <tr> <td> อาหารไก่ไข่รุ่น</td> <td align="center"> 10</td> <td align="center"> -</td> <td align="center"> 6 ส่วน</td> <td align="center"> 6 ส่วน</td> <td align="center"> -</td> </tr> <tr> <td> อาหารไก่ไข</td> <td align="center"> 9.50</td> <td align="center"> -</td> <td align="center"> -</td> <td align="center"> -</td> <td align="center"> 6 ส่วน</td> </tr> <tr> <td> เปลือกหอป่น</td> <td align="center"> -</td> <td align="center"> -</td> <td align="center"> -</td> <td align="center"> -</td> <td align="center"> วางเสริมให้กิน</td> </tr> <tr> <td colspan="2"> รวม</td> <td align="center"> 10 ส่วน</td> <td align="center"> 10 ส่วน</td> <td align="center"> 10 ส่วน</td> <td align="center"> 10 ส่วน</td> </tr> <tr> <td colspan="2" height="81"> <p align="center"> ราคาอาหารผสม</p> <p align="center"> (บาท/กิโลกรัม)</p> </td> <td align="center"> 8.16</td> <td align="center"> 7.26</td> <td align="center"> 7.04</td> <td align="center"> 7.67</td> </tr> </tbody> </table> <p> 4.&nbsp;&nbsp; &nbsp;การเก็บไข่ เก็บวันละ 2 ครั้ง คือ 11.00 น. กับ 17.00 น. โดยเฉลี่ย แล้วจะเก็บไข่ไก่ได้วันละ 90% ของจำนวนไก่ที่เลี้ยง&nbsp; เป็นเวลา 15 เดือน หลังจากนั้นไก่จะออกไข่น้อยลงเหลือเก็บต่ำกว่า&nbsp; 50% ก็ให้จับขายเป็นไก่เนื้อต่อไป</p> <p> &nbsp;</p> <p> <strong>ตลาด/แหล่งจำหน่าย</strong> :&nbsp; ส่วนใหญ่พ่อค้าหรือแม่ค้าจะมาติดต่อเองถึงฟาร์ม&nbsp; หากเลี้ยงจำนวนน้อยจะนำไปขายในตลาดหรือส่งร้านค้าในตลาดสดก็ได้</p> <p> <strong>สถานที่ให้คำปรึกษาแนะนำและขายวัคซีน</strong> :<br /> 1.&nbsp;&nbsp; &nbsp;กรมปศุสัตว์&nbsp; พญาไท&nbsp; กทม. โทร.653-4550 &ndash;7 ต่อ 3251-2<br /> 2.&nbsp;&nbsp; &nbsp;สำนักงานปศุสัตว์จังหวัด&nbsp; ปศุสัตว์อำเภอ</p> <p> <strong>ข้อแนะนำ</strong> :<br /> 1.&nbsp;&nbsp; &nbsp;ควรเลี้ยงไก่ไข่คู่กับการเลี้ยงปลา เพราะเศษอาหารของไก่และมูลไก่เป็น<a href="http://www.thaismefranchise.com/" target="_blank">อาหาร</a>ปลาได้เป็นอย่างดี&nbsp; เพื่อเป็นการเพิ่มรายได้อีกทางหนึ่ง<br /> 2.&nbsp;&nbsp; &nbsp;ควรผสมอาหารเองดีกว่าที่จะซื้ออาหารสำเร็จรูปมาเลี้ยงแต่อย่างเดียว ซึ่งอาหารสำเร็จรูปของไก่ประกอบด้วย ปลาป่น กากถั่ว รำอ่อน เปลือกหอยป่น ข้าวโพด หินแป้ง เกลือ น้ำมันถั่ว นำมาผสมกันเข้าตามสูตรที่กำหนดไว้ตามอายุของไก่&nbsp; ทำให้ควบคุมต้นทุนและคุณภาพอาหารได้เป็นอย่างดี</p> Mon, 09 Jul 2012 21:14:00 +0700 การเพาะเห็ดขอนขาว http://rajsimafarm.myreadyweb.com/article/topic-18379.html <h3 class="post-title entry-title" itemprop="name"> <a href="http://totalmenu.blogspot.com/">การเพาะ เห็ดขอนขาว</a></h3> <div class="post-body entry-content" id="post-body-7300867697760253016" itemprop="articleBody"> <br /> <a href="http://workdeena.blogspot.com/2009/07/blog-post_24.html"><img alt="" border="0" id="BLOGGER_PHOTO_ID_5362020872623881810" src="http://4.bp.blogspot.com/_t0voXvklPoE/Smm5kw75_lI/AAAAAAAABnE/f14PsDmsmu0/s320/wb.jpg" style="cursor: pointer; float: left; height: 225px; margin: 0pt 10px 10px 0pt; width: 300px;" /></a><br /> วันนี้ <span style="color: #009900; font-weight: bold;">workdeena</span> จะแนะนำ <span style="color: red; font-weight: bold;">'การเพาะเห็ดขอนขาว'</span> เป็นอาชีพซึ่งเป็นเห็ดที่ได้รับความนิยม และมีราคาดีพอสมควรสำหรับตลาดรับซื้อ ถ้ารับซื้อที่หน้าโรงเพาะ ราคาขายส่งจะตกกิโลกรัมละ 55-60 บาท ถ้านำไปขายปลีก จะตกกิโลกรัมละ 80-100 บาท ถ้าหากในช่วงฤดูหนาวจะมีราคาถึงกิโลกรัมละ 120-130 บาท เพราะเห็ดจะออกน้อยมาก ราคาจึงสูง สามารถสร้างรายได้ให้ครอบครัวของคุณได้ ไม่ต่ำกว่า 1 -2 หมื่นบาท / เดือน<br /> <br /> <span style="color: red; font-weight: bold;">การเพาะเห็ดขอนขาว</span><br /> การใช้ขอนไม้ เช่น ไม้มะม่วง ในการเพาะเห็ดขอนขาว การเพาะเห็ดด้วยวิธีนี้ เราต้องใช้ท่อนไม่มะม่วง แล้วเจาะรู เพื่อนำเชื้อเห็ดอัดลงไปในรูที่เราเจาะ เรามาดูวิธีการทำกันเลย<br /> <br /> <span style="color: #009900;">วิธีการและขั้นตอนการเพาะเห็ด</span><br /> <ul> <li> เตรียมท่อนไม้ ขนาดเส้นผ่าศูนย์ 4 &ndash; 6 นิ้ว ความยาว 1 เมตร</li> <li> ใช้สว่านไฟฟ้าขนาด 5 - 6 หุน เจาะขอนไม้ที่เตรียมไว้เป็นรูให้มีความลึกประมาณ 5 เซนติเมตร โดยทำเป็นแถวๆ ตามความยาวของไม้ และให้แต่ละแถวให้ห่างกันประมาณ 10 &ndash; 15 เซนติเมตร</li> <li> นำเชื้อเห็ดที่ซื้อมา ส่วนใหญ่เขาใช้ทำมาจากเมล็ดธัญพืชคือเมล็ดข้าวฟ่าง ใส่เชื้อเห็ดลงไปในรูไม้ที่เจาะแล้วประมาณ 10 เมล็ด แล้วนำขี้เลื่อยของไม้ที่เจาะแล้วใส่ลงไปใส่จนแน่น<a href="http://workdeena.blogspot.com/2009/07/blog-post_24.html"><img alt="" border="0" id="BLOGGER_PHOTO_ID_5362021451178288258" src="http://2.bp.blogspot.com/_t0voXvklPoE/Smm6GcOBpII/AAAAAAAABnU/y4-xKkZ17d4/s200/2.JPG" style="cursor: pointer; float: right; height: 122px; margin: 0pt 0pt 10px 10px; width: 200px;" /></a></li> <li> หลังจากนั้นใช้ปูนซีเมนต์ผสมทรายอัตราส่วน 1 : 1 คลุกน้ำหมาด ๆ ปิดรูที่ใส่เชื้อเห็ดแล้ว หรือปูนยาแนวกระเบื้อก็ได้</li> <li> จากนั้นนำขอนเห็ดไปเก็บพักไว้ในที่ร่ม หรือใต้ต้นไม้เพื่อเป็นการบ่มเชื้อเห็ด และควรรดน้ำให้ขอนเห็ดประมาณ 5 &ndash; 10 วัน รดสักครั้ง หรือถ้าเห็นว่าขอนแห้งเกินไป ก็สามารถรดน้ำได้เลย</li> </ul> <span style="color: #009900;">การบ่มเชื้อ</span><br /> <ul> <li> การวางขอนเห็ด โดยวางขอนไม้ให้เป็นซ้อนกันเป็นสี่ด้าน ไม่ให้ถูกแสงแดด เพราะจะทำให้ขอนไม้แห้งเร็วเกินไป เชื้อเห็ดจะเจริญขยายเส้นใยไม่ได้เต็มที่ การบ่มพักเชื้อจะใช้เวลานาน 2 - 3 เดือน หรืออาจนานกว่านี้ ขึ้นอยู่กับขนาดของขอนไม้ ถ้าขอนไม้ใหญ่ใช้เวลานานขึ้น เพราะเชื้อเห็ดจะอาศัยน้ำเลี้ยงจากเปลือกไม้เป็นอาหาร ดังนั้นถ้าขอนไม้แห้งเร็วเกินไปควรรดน้ำช่วยบ้าง</li> </ul> <span style="color: #009900;">การเปิดดอก หรือการทำให้เห็ดเกิดดอก</span><br /> <ul> <li> เมื่อเชื้อเห็ดเจริญได้ที่และเปลือกไม้เริ่มผุจนย่างเข้าถึงฤดูฝน เห็ดก็จะออกดอกขึ้นมาเอง โดยไม่ต้องรดน้ำ ปล่อยให้เห็ดเกิดดอกตามธรรมชาติ ซึ่งผลปรากฏว่า เห็ดออกดอกได้ปีละ 3 - 5 ครั้ง และผลผลิตต่อขอนก็เพิ่มจำนวนมากขึ้นกว่าเดิมมาก โดยช่วงเวลาที่เห็ดออกดอกได้ดีเป็นช่วงเวลากลางคืน ถึงเช้ามืด<a href="http://workdeena.blogspot.com/2009/07/blog-post_24.html"><img alt="" border="0" id="BLOGGER_PHOTO_ID_5362021183347530994" src="http://3.bp.blogspot.com/_t0voXvklPoE/Smm522eMnPI/AAAAAAAABnM/kXsYdIK-JHo/s200/thumbnailshow242399.jpg" style="cursor: pointer; float: right; height: 200px; margin: 0pt 0pt 10px 10px; width: 200px;" /></a></li> </ul> <br /> - แต่ปัจจุบันนี้ การเพาะเห็ดขอนขาว เขามีการเพาะเห็ดขอนโดยใช้ก้อนเชื้อ เหมือนเห็ดนางฟ้ากันแล้ว แต่ต้องทำโรงเรือนนะ แล้วการเพาะโดยใช้ก้อนเชื้อ จะให้ผลผลิตที่ดีกว่า การเพาะแบบใช้ขอนไม้<br /> <br /> <span style="color: red; font-weight: bold;">ตลาดรับซื้อ</span> เห็ดขอนขาว คือ ตลาดสี่มุมเมือง - ตลาดไท ลองติดต่อฝ่ายตลาด ของตลาดเขาดูนะ เพราะตลาดทั้งสองแห่งนี้พ่อค้าแม่ค้าจะรับซื้อเป็นจำนวนมาก ประมาณเจ้าละ 100 - 200 โล ก่อนคุณลงมือทำ <span style="color: #009900; font-weight: bold;">workdeena</span> แนะนำให้หาตลาดส่งก่อน หรือถ้าคุณมีผลผลิตน้อย ก็ส่งแม่ค้าในตลาดสดใกล้บ้าน หรือตลาดสดของจังหวัดนั้นๆ ถ้าเพื่อนๆ ทำตลาดดีๆ คุณเพาะเห็ดไม่พอส่งแน่ๆ ตัวอย่างราคาเห็ด ณ ตอนนี้<br /> - ราคาเห็ดเข็มทอง100กกขึ้นราคา110บาท<br /> - เห็ดหอมสด50กก.ขึ้น 170บาท<br /> - นางรมหลวง 170บาท<br /> <div style="text-align: center;"> &nbsp;</div> <b>ลิงค์เกี่ยวกับเรื่องเห็ด</b><br /> <b>1. &nbsp;<a href="http://workdeena.blogspot.com/2009/07/mushroom.html">Mushroom หรือ เห็ด</a></b><br /> <br /> <b>2. &nbsp;<a href="http://workdeena.blogspot.com/2009/07/mushroom-2.html">เห็ด (Mushroom) ตอนที่ 2</a></b><br /> <br /> <b>3. &nbsp;<a href="http://workdeena.blogspot.com/2009/07/blog-post_24.html">ตลาด และการเพาะ เห็ดขอนขาว</a></b><br /> <br /> <b>4. &nbsp;<a href="http://workdeena.blogspot.com/2009/08/blog-post_05.html">เห็ดหอม และ การตลาด</a></b><br /> <br /> <b>5. &nbsp;<a href="http://workdeena.blogspot.com/2009/11/1_30.html">การเพาะเห็ดนางฟ้า ตอนที่ 1</a></b><br /> <br /> <b>6. &nbsp;<a href="http://workdeena.blogspot.com/2009/12/2.html">การเพาะเห็ดนางฟ้า ตอนที่ 2</a></b><br /> <br /> <b>7. &nbsp;<a href="http://workdeena.blogspot.com/2009/12/blog-post.html">การตลาดค้าเห็ด</a></b><br /> <br /> <b>8. &nbsp;<a href="http://workdeena.blogspot.com/2010/08/learning-to-mushroom.html">ศูนย์การเรียนรู้ การเพาะเห็ดตำบลบ้านใหม่</a></b><br /> <br /> ขอบคุณ http://workdeena.blogspot.com/2009/07/blog-post_24.htm</div> Mon, 09 Jul 2012 16:35:00 +0700 เกษตรอินทรีย์ http://rajsimafarm.myreadyweb.com/article/topic-17731.html <p> แนวคิดพื้นฐานของเกษตรอินทรีย์คือ การบริหารจัดการการผลิตทางการเกษตรแบบองค์รวม ซึ่งแตกต่างอย่างชัดเจนจากการเกษตรแผนใหม่ที่มุ่งเน้นการเพิ่มผลผลิตชนิดใด ชนิดหนึ่งสูงสุด โดยการพัฒนาเทคนิคต่างๆ เกี่ยวกับการให้ธาตุอาหารพืชและป้องกันกำจัดสิ่งมีชีวิตอื่นที่อาจมีผลในการ ทำให้พืชที่ปลูกมีผลผลิตลดลง แนวคิดเช่นนี้เป็นแนวคิดแบบแยกส่วน เพราะแนวคิดนี้ตั้งอยู่บนฐานการมองว่า การเพาะปลูกไม่ได้สัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศ ดังนั้นการเลือกชนิดและวิธีการใช้ปัจจัยการผลิตต่างๆ มุ่งเฉพาะแต่การประเมินประสิทธิผลต่อพืชหลักที่ปลูก โดยไม่ได้คำนึงถึงผลกระทบต่อทรัพยากรการเกษตรหรือนิเวศการเกษตร สำหรับเกษตรอินทรีย์ซึ่งเป็นการเกษตรแบบองค์รวมจะให้ความสำคัญกับการ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศการเกษตร โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฟื้นฟูความอุดมสมบูรณ์ของดิน, การรักษาแหล่งน้ำให้สะอาด และการฟื้นฟูความหลากหลายทางชีวภาพของฟาร์ม ทั้งนี้เพราะแนวทางเกษตรอินทรีย์อาศัยกลไกและกระบวนการของระบบนิเวศในการทำ การผลิต ดังนั้นเกษตรอินทรีย์จะประสบความสำเร็จได้ เกษตรกรจำเป็นต้องเรียนรู้กลไกและกระบวนการของระบบนิเวศ</p> <p style="text-align: center;"> <br /> <iframe allowfullscreen="" frameborder="0" height="300" src="http://www.youtube.com/embed/8QfP56NkspQ" width="400"></iframe><br /> <br /> จากเหตุผลที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น เกษตรอินทรีย์จึงปฏิเสธการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชและปุ๋ยเคมี เนื่องจากสารเคมีการเกษตรเหล่านี้มีผลกระทบต่อกลไกและกระบวนการของระบบนิเวศ นอกเหนือจากการปฏิเสธการใช้สารเคมีการเกษตรแล้ว เกษตรอินทรีย์ยังให้ความสำคัญกับการสร้างสมดุลของวงจรของธาตุอาหาร, การประหยัดพลังงาน, การอนุรักษ์ระบบนิเวศการเกษตร และการฟื้นฟูความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งถือได้ว่าเกษตรอินทรีย์เป็นการบริหารจัดการฟาร์มเชิงบวก (positive management) และการจัดการเชิงบวกนี้เองที่ทำให้เกษตรอินทรีย์แตกต่างอย่างสำคัญจากการ เกษตรที่ไม่ใช้สารเคมีแบบปล่อยปะละเลย (ที่มักอ้างว่า เป็นการเกษตรตามแบบธรรมชาติ) หรือเกษตรปลอดสารเคมีและเกษตรไร้สารพิษที่เฟื่องฟูในบ้านเรามานานหลายปี</p> <p> เนื่องจากเกษตรอินทรีย์เป็นการเกษตรที่ให้ความสำคัญกับการทำฟาร์มเชิง สร้างสรรค์ (เพื่ออนุรักษ์และฟื้นฟูระบบนิเวศการเกษตรในไร่นา) ดังนั้นเกษตรกรที่หันมาทำเกษตรอินทรีย์จึงจำเป็นต้องพัฒนาการเรียนรู้เกี่ยว กับธรรมชาติและการบริหารจัดการฟาร์มของตนเพิ่มขึ้นด้วย ผลที่ตามมาก็คือเกษตรอินทรีย์จึงเป็นแนวทางการเกษตรที่ตั้งอยู่บนกระบวนการ แห่งการเรียนรู้และภูมิปัญญา เพราะเกษตรกรต้องสังเกต, ศึกษา, วิเคราะห์-สังเคราะห์ และสรุปบทเรียนเกี่ยวกับการทำการเกษตรของฟาร์มตนเอง ซึ่งจะมีเงื่อนไขทั้งทางกายภาพ (เช่น ลักษณะของดิน ภูมิอากาศ และภูมินิเวศ) รวมถึงเศรษฐกิจ-สังคมที่แตกต่างจากพื้นที่อื่น เพื่อคัดสรรและพัฒนาแนวทางเกษตรอินทรีย์ที่เฉพาะและเหมาะสมกับฟาร์มของตัว เองอย่างแท้จริง</p> <p> นอกจากนี้ เกษตรอินทรีย์ยังให้ความสำคัญกับเกษตรกรผู้ผลิตและชุมชนท้องถิ่น เกษตรอินทรีย์มุ่งหวังที่จะสร้างความมั่นคงในการทำการเกษตรสำหรับเกษตรกร ตลอดจนอนุรักษ์และฟื้นฟูวิถีชีวิตของชุมชนเกษตรกรรม วิถีการผลิตของเกษตรอินทรีย์เป็นวิถีการผลิตที่เกษตรกรต้องอ่อนน้อมและเรียน รู้ในการดัดแปลงการผลิตของตนให้เข้ากับวิถีธรรมชาติ อาศัยกลไกธรรมชาติเพื่อทำการเกษตร ดังนั้นวิถีการผลิตเกษตรอินทรีย์จึงเป็นวิถีแห่งการเคารพและพึ่งพิงธรรมชาติ ซึ่งสอดคล้องกลมกลืนกับวิถีชีวิตของชุมชนเกษตรพื้นบ้านของสังคมไทย</p> <p> แต่ในขณะเดียวกัน เกษตรอินทรีย์ก็ไม่ได้ปฏิเสธการผลิตเพื่อการค้า เพราะตระหนักว่าครอบครัวเกษตรกรส่วนใหญ่จำเป็นต้องพึ่งพาการจำหน่ายผลผลิต เพื่อเป็นรายได้ในการดำรงชีพ ขบวนการเกษตรอินทรีย์พยายามส่งเสริมการทำการตลาดผลผลิตเกษตรอินทรีย์ทั้งใน ระดับท้องถิ่น ประเทศ และระหว่างประเทศ โดยการตลาดท้องถิ่นอาจมีรูปแบบที่หลากหลายตามแต่เงื่อนไขทางสภาพเศรษฐกิจและ สังคมของท้องถิ่นนั้น เช่น ระบบชุมชนสนับสนุนการเกษตร (Community Support Super Mai Agriculture - CSSMA) หรือระบบอื่นๆ ซึ่งมาจากปะเทศใดในโลก ที่มีหลักการในลักษณะเดียวกัน ส่วนตลาดที่ห่างไกลออกไปจากผู้ผลิต ขบวนการเกษตรอินทรีย์ได้พยายามพัฒนามาตรฐานการผลิตและระบบการตรวจสอบรับรอง ที่สร้างความมั่นใจให้กับผู้บริโภคได้ว่า ทุกขั้นตอนของการผลิต แปรรูป และการจัดการนั้นเป็นการทำงานที่พยายามอนุรักษ์และฟื้นฟูสิ่งแวดล้อม ตลอดจนรักษาคุณภาพของผลผลิตให้เป็นธรรมชาติเดิมมากที่สุด</p> Sat, 07 Jul 2012 07:49:00 +0700 เกษตรผสมผสาน http://rajsimafarm.myreadyweb.com/article/topic-17729.html <div style="text-align: justify;"> <div style="text-align: center;"> &nbsp;</div> <div style="text-align: center;"> <span style="color: rgb(0, 0, 255);"><iframe allowfullscreen="" frameborder="0" height="300" src="http://www.youtube.com/embed/q07IIKU7giM" width="400"></iframe></span><br /> &nbsp;</div> <span style="color: #0000ff;">ลมฟ้าอากาศเป็นความเสี่ยงปกติของเกษตรกรผู้ใช้ชีวิตกลางแจ้งทั้งหลาย ไม่ว่าจะแล้งหรือหลาก เราก็ต้องปรับตัวตามเพื่อความอยู่รอด ล่าสุดหลังฝนหลงฤดูเมื่อปลายมกราพัดผ่าน ทำเอาลำไยบางส่วนแทงใบออกมาแทนดอก ... ฝนเจ้าเอยจะรู้ไหมว่า หนึ่งช่อดอกที่หาย มันหมายถึงข้าวหนึ่งอิ่มที่พี่ต้องอดเชียวนะนั่น<br /> ปีที่แล้วความหลากหลาย เริ่มให้ผล ส้มโอ ขนุน กล้วย เหลือแจกแล้วก็ลองเร่ขายดู จีบแม้ค้าส้มตำไว้หลายครกแล้วเผื่อไว้ขายส้มโอ ลูกละห้าบาทเจ็ดบาทก็ยังได้หยิบเงินพัน เป็นการเริ่มก้าวที่ไม่ยาวนักแต่ก็ราบรื่นดี ชีพจรของสวนเริ่มเต้นเป็นจังหวะคงที่แล้วแต่ยังไม่สม่ำเสมอ หน้าฝนขายลำไย หน้าร้อนขายผักหวาน หน้าหนาวขายส้มโอ จะเห็นว่าเพราะความหลากหลายไม่เพียงพอ ทำให้วงรอบการเก็บเกี่ยวหยุดตัวเองไว้แค่ช่วงฤดูกาลเท่านั้น<br /> ระหว่างฤดูใช่มีเพียงรายปีรายปักษ์ ยังมีวันและสัปดาห์ให้เราตักตวงอีกได้ ทำอย่างไร?<br /> พัก นี้เลยง่วนอยู่กับงานวิจัยชาวบ้านชิ้นหนึ่ง เรื่อง &#39;โครงการวิจัยและพัฒนาเกษตรกรรมประณีต ๑ ไร่&#39; ของเครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านและพหุภาคีภาคอีสาน ซึ่งได้รับการสนับสนุนจาก สกว. และ สสส. เป็นการแปรแนวคิดเกษตรผสมผสานไปสู่การปฏิบัติที่ได้รับการรับรองผลอย่างถูก ต้อง มีการเก็บข้อมูลทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ สามารถใช้อ้างอิงได้ เพราะได้ผ่านกระบวนการวิจัยอย่างเป็นระบบ<br /> ฉะนั้นที่ปรามาสกันว่า ระบบเกษตรยั่งยืนหรือเกษตรทางเลือกเพื่อการพึ่งตนเองในรูปแบบต่างๆ นั้นไม่มีการศึกษาวิจัยอย่างเป็นเรื่องเป็นราว มีความน่าเชื่อถือน้อย ขาดหลักฐานเชิงประจักษ์ หรือไม่มีกระบวนการที่จะนำไปสู่หนทางแก้ไขปัญหาอย่างแท้จริง เสียงเหล่านั้นน่าจะหมดไปได้เสียที แล้วหันมาช่วยกันศึกษาต่อยอดและเผยแพร่องค์ความรู้นี้ไปสู่เกษตรกรในวงกว้าง ต่อไป<br /> สำหรับคำจำกัดความของเกษตรประณีตนั้น ความที่ยังไม่ได้ลงมือปฏิบัติจึงไม่สามารถนิยามได้อย่างถูกต้อง แต่คำว่า &#39;ประณีต&#39; นั้นบ่งบอกความหมายได้พอสมควร ว่าให้เริ่มทำจากเล็กๆ ด้วยความใส่ใจ ผมเชื่ออยู่อย่างว่าถึงมีที่ดินเยอะก็ใช่ว่าจะอยู่รอดปลอดภัย ยิ่งมีมาก เวลาเกิดปัญหาขึ้นมา ผลกระทบที่ได้รับก็จะมากตามไปด้วย ความอยู่รอดของเกษตรกรบางครั้งก็ไม่ได้แปรตามจำนวนที่ทำกินเสมอไป แต่ถ้าจะให้นิยามหยาบๆ &#39;เกษตรประณีต&#39; น่าจะเป็นการย่อเอาองค์ความรู้-ภูมิปัญญาอันทรงคุณค่าของพี่น้องเกษตรกรไทย ใส่ลงไปในผืนแผ่นดินขนาดหนึ่งไร่หรือน้อยกว่านั้น ถ้าไม่ค่อยเข้าใจ ลองคิดตามคำปราชญ์ดูสิครับ<br /> <br /> การทำเกษตรประณีตในความคิดผม ต้องมี ๔ ขั้นตอน อย่างที่หนึ่ง ต้องกำหนดเป้าหมายโดยที่ไม่เอาเงินเป็นตัวตั้ง เอาความสุขใจเป็นตัวตั้ง เอาความมีเป็นตัววัด มีในสิ่งที่จำเป็นในการดำรงชีวิตในพื้นที่ พืชผัก ไม้ผลยืนต้น ไม่ใช้สอย สัตว์เลี้ยง ฯลฯ อย่างที่สองต้องมีการรวมพลัง รวมพลังคนในบ้านและชุมชนเพื่อสร้างอาหารให้พลังแก่ตนเองและคนในแผ่นดิน อย่างที่สาม ขั้นของการตั้งมั่น คือการรู้จักตัวเอง รู้จักผู้อื่น รู้จักสิ่งแวดล้อมเพื่อเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตน อย่างที่สี่ ขั้นตั้งใจ ตั้งใจทำมาหากินเพื่อให้มีอยู่มีกิน พึ่งพาตัวเอง ค่อยๆ ลดหนี้ไป<br /> พ่อผาย สร้อยสระกลาง<br /> การ ทำเกษตรประณีต คือ การเปลี่ยนวิธีคิดใหม่ของเกษตรกร เนื่องจากระบบการทำเกษตรที่ผ่านมานั้นมีการคิดกันเพียงหยาบ ๆ ว่า ๑ ไร่คือที่ดิน ๑,๖๐๐ ตารางเมตร ขณะเดียวกันก็ปลูกโดยไม่มีการคำนวณ และคำนึงถึงผลประโยชน์ที่จะได้มากนัก แม้แต่การคิดว่า ๑ ไร่ มี ๑,๖๐๐ ตารางเมตรยังหยาบเกินไป อาจจะต้องคิดเป็นตารางฟุต ตารางนิ้ว หรือตารางเซนติเมตรไปเลย เป็นการท้าทายให้ไม่คิดเฉพาะบนดิน แต่ใต้ดินก็สามารถปลูกพืชได้ เช่น ปลูกมันเทศไว้ในดิน เหนือดินขึ้นไป ๒ ชั้น ๓ ชั้น ก็มีต้นไม้ มีสัตว์ และถ้าเราคิดให้พื้นที่ ๑ ไร่เป็นรูปสี่เหลี่ยมที่มีเส้นรอบแปลง ๔ ด้านเท่ากับ ๑๖๐ เมตร หรือ ๑๖๐,๐๐๐ เซนติเมตร จะมีชะอมโดยรอบ ๕๐๐ ว่าต้น เก็บเกี่ยวแต่ละรอบก็เหลือกินมาก และถ้าเหลือก็ขายวันละบาท จะมีเงินวันละ ๕๐๐ บาท...นี่เฉพาะรั้ว ยังไม่นับพื้นที่ว่างในการปลูกผักผลไม้ ไม้ใช้สอย เพาะเห็ด เลี้ยงสัตว์ นานาชนิดได้อีกมาก<br /> พ่อคำเดื่อง ภาษี<br /> คำว่าเกษตรประณีตเราไม่ไปตี ความหมายว่าเป็นกิจกรรม แต่เป็นกระบวนการ วิธีเรียน วิธีทำ จะชัดเจนกว่า คือต่อไปคนที่อยู่ในภาคการเกษตรจะต้องทำอะไรให้มันประณีตขึ้น ดูแลเอาใจใส่ หมั่นศึกษา หมั่นทดลอง ต่อไปคำว่าเกษตรประณีตมันจะกลายเป็นวิธีเรียนวิธีทำของชาวบ้าน ซึ่งจะไปสอดคล้องกับคำว่าเศรษฐกิจพอเพียง แต่เดิมเราไปอธิบายว่าเกษตรประณีตคือการทำแปลงผัก ๑ ไร่ มันไม่ผิดหรอก แต่ว่ามันยังไม่พอ คนที่ทำอาชีพเกษตรต้องทำแบบผสมผสานหลายๆ อย่าง หมูเป็นไร ไก่เป็นไร ต้นไม้เป็นไร ผักเป็นไร ปลาเป็นอย่างไร ให้มันเห็นระบบตรงนั้น ซึ่งมันก็เป็นระบบเกษตร แต่ที่ผ่านมาเราทำทิ้งทำขว้าง ทำเยอะแต่ได้น้อย ลองมาดูแบบทำน้อยให้มันได้ดีกว่า<br /> ครูบาสุทธินันท์ ปรัชญพฤทธิ์<br /> ส่วน รายละเอียดนั้น ปรากฏเป็นขั้นเป็นตอนครบถ้วนอยู่ในเอกสารงานวิจัยแล้ว ผมทำได้เพียงแค่แนะนำเพราะเห็นว่ามีประโยชน์ อยากให้ข้อมูลชุดนี้ได้ผ่านหูผ่านตาเกษตรกรกันมากๆ ได้อ่าน ได้คิด ได้ลองทำ คลายตัวเองออกมาจากกรอบคิดเดิมๆ ที่ว่า &#39;การทำการเกษตรให้ประสบความสำเร็จนั้นต้องใช้ที่ดินมากและเงินทุนเยอะ&#39; ซึ่งจริงๆ แล้วก็ไม่ใช่ความคิดที่ผิดอะไร แต่ก่อนที่จะตัดสินใจควรพิจารณาให้ดีว่า นั่นเป็นการทำเกษตรที่เกินตัวเราหรือเปล่า? แล้วเราเองมีความสามารถในการควบคุมปัจจัยต่างๆ รอบตัวที่แปรปรวนผันผวนอยู่ตลอดได้มากน้อยแค่ไหน<br /> เริ่มที่การ &#39;รู้เรา&#39; และไม่จำเป็นต้องไปรู้เขารู้ใคร เราทำเพื่อเลี้ยงตัวไม่ได้ไปสู้รบตบมือกับใครที่ไหน สิ่งสำคัญที่ต้องเอาชนะให้ได้นั่นคือใจของเราเอง ความทะยานอยากเป็นปกติของปุถุชน มีน้อยก็เจ็บน้อยอย่างที่พระท่านว่า บางทีงานวิจัยชิ้นนี้อาจจะช่วยแก้ไขปัญหาของเกษตรกรท่านอื่นๆ ได้ทั้งเรื่องหนี้สิน ที่ดิน การผลิต ไปจนถึงการใช้ชีวิต มาเรียนรู้ไปด้วยกันครับ ผมเองก็กำลังชั่งใจกับรูปแบบนี้อยู่เหมือนกันเริ่มต้นให้สงสัยไว้ก่อนเลยว่า &#39;ที่ดินหนึ่งไร่จะเลี้ยงตัวได้จริงหรือ?&#39;<br /> เพื่อให้ได้ข้อมูลอันจะเป็น ประโยชน์กับผู้ที่สนใจมากขึ้น ผมขอเพิ่มเติมกรณีศึกษาแปลงเกษตรประณีต ๑ ไร่ ของปราชญ์ชาวบ้านทั้งสามท่านข้างต้น เป็นข้อมูลจากวารสารเกษตรกรรมธรรมชาติ ฉบับที่ ๓/๒๕๕๐ คาดหวังเป็นอย่างยิ่งว่า การคิดอย่างไตร่ตรองรอบคอบและนำมาประยุกต์ใช้ให้เข้ารูปเข้ารอยกับตนเอง จากรูปธรรมของแนวคิดและวิธีปฏิบัติของเหล่าปราชญ์ชาวบ้านทั้งสามท่าน น่าจะช่วยเป็นแสงไฟส่องทางให้เกษตรกรไทย ได้ก้าวกลับไปสู่การดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างมีศักดิ์ศรีของความเป็นคนบนพื้น ฐานของการพึ่งพาตนเอง ท่ามกลางกระแสบริโภคนิยมงมงายเฉกเช่นปัจจุบัน<br /> แปลนพื้นที่เกษตรประณีต ๑ ไร่ ของพ่อผาย สร้อยสระกลาง</span><br /> <table align="center" border="0"> <tbody> <tr> <td> <span style="color: #0000ff;"><img alt="008" height="404" src="http://www.kasetsomboon.org/images/stories/Article/kasetpoorpeang/008.jpg" width="600" /></span></td> </tr> </tbody> </table> <br /> <br /> <span style="color: #0000ff;">พื้นที่ ๑ ไร่ มีขนาด ๑,๖๐๐ ตารางเมตร ในพื้นที่ของพ่อผายจะแบ่งเป็นโซนด้านตะวันออกและโซนด้านตะวันตก โซนด้านตะวันออกเนื้อที่ ๘๐๐ ตารางเมตร แบ่งออกเป็น สระน้ำ ๒๐๐ ตารางเมตร, ชานสระ ๖๔ ตารางเมตร, ที่อยู่อาศัย ๖๐ ตารางเมตร, คูสระ ๔๗๖ ตารางเมตร</span><br /> <span style="color: #0000ff;">โซน ด้านตะวันตกเนื้อที่ ๘๐๐ ตารางเมตร แบ่งเป็น นาข้าว ๓๖๐ ตารางเมตร, คันคู ๘๐ ตารางเมตร, คอกวัว ๗๐ ตารางเมตร, คอกฟาง ๓๘ ตารางเมตร, โรงปุ๋ยชีวภาพ ๓๙ ตารางเมตร, เรือนเพาะชำ ๑๕ ตารางเมตร, ทางเดินและลานเอนกประสงค์ ๑๙๗ ตารางเมตร<br /> <br /> ปริมาณและชนิดของผลผลิตจากที่ดิน ๑ ไร่ ของพ่อผาย สร้อยสระกลาง<br /> สัตว์มี ๒ ชนิด น้ำหนักรวม ๓๖ กิโลกรัม<br /> ผักมี ๓๑ ชนิด น้ำหนักรวม ๕๗๑.๒ กิโลกรัม<br /> ผลไม้มี ๔ ชนิด น้ำหนักรวม ๓๒๑.๑ กิโลกรัม<br /> ข้าวมี ๑ พันธุ์ น้ำหนักรวม ๑๕๐ กิโลกรัม<br /> รวมมีพืชและสัตว์ ๓๘ ชนิด คิดเป็นน้ำหนักรวม ๑,๐๗๘.๓ กิโลกรัม<br /> ผลผลิตที่ไม่ได้ชั่งหรือกินได้มี กล้าไม้ ๗ ชนิด จำนวน ๑๐๐ กล้า<br /> ค่าใช้จ่ายต่างๆ ในการทำเกษตรประณีต ๑ ไร่ ของพ่อผาย สร้อยสระกลาง<br /> ค่าแรงงาน ๓๘๖ ชั่วโมง คิดเป็นเงิน ๖,๙๔๘ บาท<br /> ค่าปุ๋ย ๓,๔๒๐ กิโลกรัม คิดเป็นเงิน ๐ บาท<br /> ค่าไฟฟ้าสูบน้ำ ๑๑๔ ชั่วโมง คิดเป็นเงิน ๓๔๒ บาท<br /> ค่าพันธุ์พืช ๖,๖๗๗ ต้น คิดเป็นเงิน ๖๑๐ บาท<br /> ค่าเมล็ดพันธุ์ ๑,๗๖๐ กรัม คิดเป็นเงิน ๑,๓๘๕ บาท<br /> ค่าพันธุ์สัตว์ ๖๔๑ ตัว คิดเป็นเงิน ๗๕,๙๕๐ บาท<br /> เครื่องจักรกล ๑๕๐ บาท<br /> อื่นๆ ๒๐๐ บาท<br /> ค่าใช้จ่ายทุกประเภทไม่รวมแรงงาน คิดเป็นเงิน ๗๘,๖๓๗ บาท<br /> ค่าใช้จ่ายทุกประเภทรวมแรงงาน คิดเป็นเงิน ๘๕,๕๘๕ บาท<br /> จำนวน ปีที่ทำเกษตรผสมผสาน ความพอเพียงของปริมาณน้ำ ชนิดและจำนวนของต้นไม้ยืนต้นที่มีอยู่ ปลุกใหม่ ตายไป และคงเหลือในแปลงเกษตรประณีต ๑ ไร่<br /> ที่ดินเกษตรประณีต ๑ ไร่ ของพ่อผายเคยทำเกษตรผสมผสานมาแล้ว ๓ ปี<br /> ใช้น้ำจากสระน้ำและบาดาลมีน้ำเพียงพอตลอดปี<br /> ต้นไม้ยืนต้นที่มีอยู่เดิมมี ๓ ชนิด จำนวน ๓ ต้น<br /> จำนวนที่ปลูกเพิ่ม ๒๗ ชนิด จำนวน ๘๒ ต้น<br /> จำนวนที่ตายไปหรือตัดทิ้งมี ๑ ชนิด จำนวน ๑ ต้น<br /> จำนวนคงเหลือ ๒๙ ชนิด จำนวน ๘๔ ต้น<br /> หมายเหตุ : เก็บข้อมูลระหว่างวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๔๗ ถึง ๓๑ ธันวาคม ๒๕๔๘<br /> สอบ ถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ พ่อผาย สร้อยสระกลาง มหาวิชชาลัยภูมิปัญญาไทอีสานคืนถิ่น ๑๕๘ ม.๔ ต.โคกล่าม อ.ลำปลายมาศ จ.บุรีรัมย์ โทรศัพท์ ๐๘๙-๕๘๒-๗๓๒๕<br /> <br /> แปลนพื้นที่เกษตรประณีต ๑ ไร่ ของ พ่อคำเดื่อง ภาษี</span><br /> <table align="center" border="0"> <tbody> <tr> <td> <span style="color: #0000ff;"><img alt="009" height="432" src="http://www.kasetsomboon.org/images/stories/Article/kasetpoorpeang/009.jpg" width="600" /></span></td> </tr> </tbody> </table> <br /> <br /> <span style="color: #0000ff;">ในพื้นที่ ๑ ไร่ ของพ่อคำเดื่องจะไม่มีพื้นที่นา จะมีส่วนของแปลงผัก ไม้ผล และไม้ยืนต้น รวมทั้งมีพื้นที่สำหรับโรงเรือนเพาะชำ โดยจะไม่ได้เลี้ยงสัตว์ ในพื้นที่ ๑ ไร่ มีการปลูกไม้ยืนต้น เช่น กล้วย มะละกอ เป็นต้น มีการปลูกไม้ใช้สอย เช่น ยางนา ไผ่ สัก ประดู่ ตะเคียน เป็นต้น</span><br /> <span style="color: #0000ff;">ปริมาณและชนิดของผลผลิตจากที่ดิน ๑ ไร่ ของพ่อคำเดื่อง ภาษี<br /> ไม่มีการเลี้ยงสัตว์ในสวน<br /> ไม่มีการทำนาในสวน<br /> ผักมี ๒๙ ชนิด คิดเป็นน้ำหนัก ๓๖๘.๖ กิโลกรัม<br /> ผลไม้มี ๕ ชนิด คิดเป็นน้ำหนัก ๕๔๓.๓ กิโลกรัม<br /> เห็ดมี ๑ ชนิด คิดเป็นน้ำหนัก ๕.๓ กิโลกรัม<br /> รวมพืชทั้งหมด ๓๕ ชนิด คิดเป็นน้ำหนัก ๙๓๘.๒ กิโลกรัม<br /> ผลผลิตที่ไม่ได้ชั่งหรือกินได้มี กล้าไม้ ๒ ชนิด จำนวน ๘ กล้า และมีไม้ไผ่ ๑๓ ลำ<br /> ค่าใช้จ่ายต่างๆ ในการทำเกษตรประณีต ๑ ไร่ ของพ่อคำเดื่อง ภาษี<br /> ค่าแรงงานจำนวน ๗๔๘ ชั่วโมง คิดเป็นเงิน ๑๓,๔๖๔ บาท<br /> ค่าปุ๋ย ๑,๕๑๔ กิโลกรัม คิดเป็นเงิน ๐ บาท<br /> ค่าพันธุ์พืช ๑,๒๘๘ ต้น คิดเป็นเงิน ๔๔๘ บาท<br /> ค่าเมล็ดพันธุ์ ๑๓,๐๗๓ กรัม คิดเป็นเงิน ๗๕ บาท<br /> ค่าพันธุ์สัตว์ ๐ ตัว คิดเป็นเงิน ๐ บาท<br /> ค่าใช้จ่ายทุกประเภทไม่รวมแรงงาน คิดเป็นเงิน ๕๒๓ บาท<br /> ค่าใช้จ่ายทุกประเภทรวมแรงงาน คิดเป็นเงิน ๑๓,๙๘๗ บาท<br /> จำนวน ปีที่ทำเกษตรผสมผสาน ความพอเพียงของปริมาณน้ำ ชนิดและจำนวนของต้นไม้ยืนต้นที่มีอยู่ ปลุกใหม่ ตายไป และคงเหลือในแปลงเกษตรประณีต ๑ ไร่<br /> ที่ดินเกษตรประณีต ๑ ไร่ ของพ่อคำเดื่องเคยทำเกษตรผสมผสานมาแล้ว ๒ ปี<br /> ใช้น้ำจากลำห้วยกุดน้ำใส มีน้ำเพียงพอกับความต้องการตลอดปี<br /> ต้นไม้ยืนต้นที่มีอยู่เดิม ๒๒ ชนิด จำนวน ๓๕๓ ต้น<br /> จำนวนที่ปลูกเพิ่ม ๑๐ ชนิด จำนวน ๒๗๐ ต้น<br /> จำนวนที่ตายไปหรือตัดทิ้งมี ๖ ชนิด จำนวน ๖๕ ต้น<br /> จำนวนคงเหลือ ๒๗ ชนิด จำนวน ๕๕๘ ต้น<br /> หมายเหตุ : เก็บข้อมูลระหว่างวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๔๗ ถึง ๓๑ ธันวาคม ๒๕๔๘<br /> สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ พ่อคำเดื่อง ภาษี ๔๐ ม.๘ ต.หัวฝาย กิ่ง อ.แคนดง จ.บุรีรัมย์ โทรศัพท์ ๐๘๑-๘๗๖-๕๙๐๖<br /> <br /> แปลนพื้นที่เกษตรประณีต ๑ ไร่ ของครูบาสุทธินันท์ ปรัชญพฤทธิ์</span><br /> <table align="center" border="0"> <tbody> <tr> <td> <span style="color: #0000ff;"><img alt="010" height="424" src="http://www.kasetsomboon.org/images/stories/Article/kasetpoorpeang/010.jpg" width="600" /></span></td> </tr> </tbody> </table> <br /> <span style="color: #0000ff;">ในพื้นที่ ๑ ไร่ ของครูบาสุทธินันท์จะมีส่วนของผักที่ปลูกตามฤดูกาล เป็นผักอายุสั้นซึ่งมีการผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันมาปลูก เช่น กระหล่ำปลี ต้นหอม ถั่วฝักยาว ผักกาด พริก เป็นต้น รอบแปลงจะปลูกไม้พุ่ม ไม้ผล ไม้เลื้อย เช่น มะละกอ แก้วมังกร น้ำเต้า ใต้โครงไม้เลื้อยหรือไม้ใหญ่ก็จะมีผักประเภทที่ไม่ต้องการแสงมากในการเจริญ เติบโต โดยรอบพื้นที่จะปลูกดอกไม้ช่วยดึงแมลงมีประโยชน์ในพื้นที่ เช่น ดาวเรือง</span><br /> <span style="color: #0000ff;">ปริมาณและชนิดของผลผลิตจากที่ดิน ๑ ไร่ ของครูบาสุทธินันท์ ปรัชญพฤทธิ์<br /> สัตว์มี ๑ ชนิด คิดเป็นน้ำหนัก ๐.๕ กิโลกรัม<br /> ผักมี ๔๐ ชนิด คิดเป็นน้ำหนัก ๑,๑๙๗.๑ กิโลกรัม<br /> ผลไม้มี ๕ ชนิด คิดเป็นน้ำหนัก ๑,๑๗๑.๔ กิโลกรัม<br /> รวมมีพืชและสัตว์ทั้งหมด ๔๖ ชนิด คิดเป็นน้ำหนัก ๒,๓๖๙ กิโลกรัม<br /> ผลผลิตที่ไม่ได้ชั่งหรือกินได้มี เบี้ยมะเขือ จำนวน ๑๐๐ เบี้ย<br /> ค่าใช้จ่ายต่างๆ ในการทำเกษตรประณีต ๑ ไร่ ของครูบาสุทธินันท์<br /> ค่าแรงงานจำนวน ๙๖๑ ชั่วโมง คิดเป็นเงิน ๑๗,๒๙๘ บาท<br /> ค่าปุ๋ย ๕,๒๘๒ กิโลกรัม คิดเป็นเงิน ๐ บาท<br /> ค่าไฟฟ้าสูบน้ำ ๒๘๕ ชั่วโมง คิดเป็นเงิน ๘๕๕ บาท<br /> ค่าพันธุ์พืช ๖,๑๘๔ ต้น คิดเป็นเงิน ๓๗๐ บาท<br /> ค่าเมล็ดพันธุ์ ๑๔,๙๑๓ กรัม คิดเป็นเงิน ๑,๒๔๕ บาท<br /> เครื่องจักรกล ๑,๑๑๓ บาท<br /> ค่าใช้จ่ายทุกประเภทไม่รวมแรงงาน คิดเป็นเงิน ๓,๕๘๓ บาท<br /> ค่าใช้จ่ายทุกประเภทรวมแรงงาน คิดเป็นเงิน ๒๐,๘๘๑ บาท<br /> จำนวน ปีที่ทำเกษตรผสมผสาน ความพอเพียงของปริมาณน้ำ ชนิดและจำนวนของต้นไม้ยืนต้นที่มีอยู่ ปลุกใหม่ ตายไป และคงเหลือในแปลงเกษตรประณีต ๑ ไร่<br /> ที่ดินเกษตรประณีต ๑ ไร่ ของครูบาสุทธินันท์ ไม่เคยทำเกษตรผสมผสานมาเลย<br /> ใช้น้ำจากบ่อบาดาลมีน้ำเพียงพอกับความต้องการตลอดปี<br /> ต้นไม้ยืนต้นที่มีอยู่เดิม ๔ ชนิด จำนวน ๕ ต้น<br /> จำนวนที่ปลูกเพิ่ม ๑๙ ชนิด จำนวน ๑๐๓ ต้น<br /> จำนวนที่ตายไปหรือตัดทิ้งมี ๑ ชนิด จำนวน ๕ ต้น<br /> จำนวนคงเหลือ ๒๓ ชนิด จำนวน ๑๐๓ ต้น<br /> หมายเหตุ : เก็บข้อมูลระหว่างวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๔๗ ถึง ๓๑ ธันวาคม ๒๕๔๘<br /> สอบ ถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ ครูบาสุทธินันท์ ปรัชญพฤทธิ์ มหาวิชชาลัยอีสาน (สถาบันภูมิปัญญาท้องถิ่นอีสาน) ๓๔ บ้านปากช่อง ต.สนามชัย อ.สตึก จ.บุรีรัมย์ ๓๑๑๕๐ โทรศัพท์ ๐๔๔-๗๘๒-๓๑๓ โทรสาร ๐๔๔-๖๘๑-๒๒๐</span></div> <div id="comments-container"> <div id="comments-header"> <h3> Comments</h3> </div> </div> Thu, 28 Jun 2012 13:27:00 +0700 เกษตร1ไร่ปราณีต http://rajsimafarm.myreadyweb.com/article/topic-17730.html <div style="text-align: center;"> &nbsp;</div> <div style="text-align: center;"> &nbsp;</div> <div> <br /> 1.ความเป็นมาของ &ldquo;เกษตรประณีต 1 ไร่&rdquo;</div> เกษตรประณีต 1 ไร่ เป็นความพยายามของปราชญ์ชาวบ้านภาคอีสาน 12 ท่าน ที่ทำการเกษตรผสมผสานมานานปี (15 &ndash;50 ปี) บนรากฐานของการพึ่งตนเอง รู้จักคำว่าพอ โดยเริ่มจากการลดรายจ่ายที่ไม่จำเป็น (อุดรูรั่ว) มีการออมน้ำ ออมดิน ออมต้นไม้ ออมสัตว์ ออมเงิน และสั่งเสริมภูมิปัญญาในการแก้ไขปัญหาต่างๆ<br /> <br /> 2.ทำไมเกษตรกรที่มีที่ดินมากกว่า 1 ไร่ จึงเอาตัวไม่รอด<br /> จากการประชุมเครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านและพหุภาคีภาคอีสาน ครั้งที่ 8/2546 ณ ศูนย์เรียนรู้ของพ่อนิยม จิตระดิษฐ์ เครือข่ายของพ่อมหาอยู่ สุนทรชัย จังหวัดสุรินทร์ สมาชิกที่เข้าประชุม สรุปความคิดเห็นเกี่ยวกับ การที่เกษตรกรที่มีที่ดินมากกว่า 1 ไร่ แต่เอาตัวไม่รอดอย่างน่าสนใจ เป็นเพราะ (1) ขาดศีล (2) ขาดสมาธิ (3) ขาดปัญญา <div style="text-align: center;"> <iframe allowfullscreen="" frameborder="0" height="300" src="http://www.youtube.com/embed/E6ZXBHCVCx0" width="400"></iframe></div> 3.หลักการเกษตรประณีต 1 ไร่ ประกอบด้วย<br /> 3.1 การออมน้ำ คุณมาติน วีเลอร์ ชาวอังกฤษ ที่มาตั้งรกรากอยู่ที่ จังหวัดขอนแก่น บอกว่า &ldquo;อีสานนี้ดี ที่ดินก็มีมาก ดินก็ดี แสงแดดก็ดี น้ำก็เยอะ (น้ำฝน) แม้อีสานจะแห้งแล้ง แต่ก็ยังมีฝนตกตามฤดูกาลทุกปี สามารถปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ รวมทั้งเก็บน้ำไว้ใช้ด้วยวิธีการที่เหมาะสม เช่น การขุดบ่อน้ำตื้น ขุดสระเก็บน้ำ หรือเจาะบาดาลไว้ในที่ดิน 1 ไร่<br /> 3.2 การออมดิน คือ การสร้างความอุดมสมบูรณ์ให้แก่ดินด้วยวิธีการต่างๆ เช่น การใช้ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยพืชสด น้ำหมักชีวภาพ การคลุมดิน เป็นต้น<br /> 3.3 การออมต้นไม้ การปลูกพืชที่หลากหลาย ให้มีพืชทั้งระยะสั้น ระยะปานกลาง ระยะยาว จนถึงพืชบำนาญชีวิตของเกษตรกร (ไม้ยืนต้น ไม้ป่าต่างๆ ที่มีราคา เช่น ตะเคียนทอง สะเดา ประดู่ มะค่า) เพื่อสร้างรายได้ที่หลากหลาย เช่น รายได้รายวัน รายเดือน รายปี จนถึงบำนาญชีวิตเกษตรกร<br /> 3.4 การออมสัตว์ ในการทำเกษตรประณีต 1 ไร่ จะมีการผสมผสาน การเลี้ยงสัตว์ตามความเหมาะสม เช่น การเลี้ยง ปลา กบ หมู วัว ควาย เป็ด ไก่ แพะ เป็นการใช้ประโยชน์พืชผลที่มีอยู่ ให้ได้ทั้งอาหารและมูลสัตว์เพื่อการปรับปรุงดิน<br /> 3.5 การออมเงิน การทำเกษตรประณีต 1 ไร่ จะเป็นเกษตรที่เป็นการประหยัด ลดต้นทุน จากการลดต้นทุน ลดรายจ่ายของเกษตรกร เมื่อมีเงินเหลือ จะต้องมีการออมเงินเพื่อเป็นทุนในการผลิต เป็นสวัสดิการของครอบครัวยามเจ็บป่วย เป็นค่าศึกษาเล่าเรียนของคนในครอบครัว เช่น การออมเงินวันละบาท การเข้าร่วมกลุ่มออมทรัพย์ของชุมชน เป็นต้น<br /> <br /> 4. ผลได้จากการทำเกษตรประณีต 1 ไร่<br /> ผลได้จากการทำเกษตรประณีต 1 ไร่ มีความมุ่งหวังจะให้เกิดผล 2 ระดับ คือ<br /> ระดับแรก ผลได้ต่อตนเองและครอบครัวของเกษตรกร สามารถปลดทุกข์หนักของเกษตรกรในปัจจุบัน คือ หนี้สิน โดยใช้หลัก เศรษฐกิจพอเพียง เป็นหลักในการปฏิบัติ เกษตรกรและครอบครัว จะต้องปรับเปลี่ยนและการปฏิบัติ มุ่งที่จะพึ่งตนเองให้ได้มากที่สุด อุดรูรั่วของครอบครัวให้ได้ และลดต้นทุนทางการเกษตรด้วยภูมิปัญญาที่สะสมมา เมื่อเกษตรกรประสบผลสำเร็จ สามารถพึ่งตนเองได้ มีอาชีพการเกษตรที่มั่นคงก็จะมีความรักถิ่นฐานบ้านเกิด มีครอบครัวที่อบอุ่น (เพราะมีอาชีพที่ดี) และทำได้เองในพื้นที่<br /> ระดับที่สอง ผลได้ต่อชุมชนและท้องถิ่น เกษตรกรที่พึ่งตนเองได้ ก็สามารถรวมพลังชุมชนให้เข้มแข็ง เป็นที่อยู่ที่อาศัย ที่ทำกินได้อย่างยั่งยืน สร้างความอุดมสมบูรณ์ กับทรัพยากรในท้องถิ่น ด้วยรากฐานที่สำคัญ 5 ประการ คือ<br /> 1.ฐานเศรษฐกิจ<br /> 2.ฐานทรัพยากร<br /> 3.ฐานความรู้<br /> 4.ฐานสุขภาพ Thu, 28 Jun 2012 13:26:00 +0700 เกษตรทฤษฎีใหม่ http://rajsimafarm.myreadyweb.com/article/topic-17728.html <table bgcolor="#EDEAE2" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" height="145" width="540"> <tbody> <tr> <td align="left" valign="top" width="355"> <img height="145" src="http://www.huaysaicenter.org/images/new_theory/new_theory.jpg" width="355" /></td> <td align="left" valign="top" width="185"> <img height="145" src="http://www.huaysaicenter.org/images/new_theory/new_theory_text.gif" width="185" /></td> </tr> </tbody> </table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="540"> <tbody> <tr> <td align="left" height="20" valign="top"> &nbsp;</td> </tr> <tr> <td align="left" class="simple" valign="top"> ปัญหาหลักของเกษตรกรในอดีต จนถึงปัจจุบันที่สำคัญประการหนึ่ง คือ การขาดแคลนน้ำเพื่อ<br /> เกษตรกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเขตพื้นที่เกษตรที่อาศัยน้ำฝน ซึ่งเป็นพื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศที่อยู่<br /> ในเขต ที่มีฝนค่อนข้างน้อยและส่วนมากเป็นนาข้าวและพืชไร่ เกษตรกรยังคงทำการเพาะปลูกได้ปีละครั้ง<br /> ในช่วงฤดูฝนเท่านั้น และมีความเสี่ยงกับความเสียหายอันเนื่องมาจากความแปรปรวนของดินฟ้าอากาศ<br /> และฝนทิ้งช่วง แม้ว่าจะมีการขุดบ่อหรือสระเก็บน้ำไว้ใช้บ้างแต่ก็มีขนาดเพียงพอ หรือมีปัจจัยอื่นๆ ที่เป็น<br /> ปัญหาให้มีน้ำใช้ไม่เพียงพอ รวมทั้งระบบการปลูกพืชไม่มีหลักเกณฑ์ใดๆ และส่วนใหญ่ปลูกพืชชนิดเดียว</td> </tr> <tr> <td align="left" height="20" valign="top"> &nbsp;</td> </tr> <tr> <td align="left" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="540"> <tbody> <tr> <td align="left" class="simple" valign="top" width="350"> ด้วยเหตุนี้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงได้พระราชทานพระราชดำริ<br /> เพื่อเป็นการช่วยเหลือเกษตรกรที่ประสบความยากลำบากดังกล่าว<br /> ให้สามารถผ่านพ้นช่วงเวลาวิกฤติ โดยเฉพาะการขาดแคลนน้ำ ได้<br /> โดยไม่เดือดร้อนและยากลำบากนัก พระราชดำรินี้ ทรงเรียกว่า<br /> 'ทฤษฎีใหม่' เป็นแนวทางหรือหลักการในการบริหารการจัดการที่ดิน<br /> และน้ำ เพื่อการเกษตรในที่ดินขนาดเล็กให้เกิดประโยชน์สูงสุด</td> <td align="right" valign="top" width="190"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="190"> <tbody> <tr> <td align="right" valign="top"> <img height="110" src="http://www.huaysaicenter.org/images/new_theory/new_theory1.jpg" width="170" /></td> </tr> </tbody> </table> </td> </tr> </tbody> </table> </td> </tr> <tr> <td align="left" height="20" valign="top"> &nbsp;</td> </tr> <tr> <td align="left" class="topic2" valign="top"> ทฤษฎีใหม่ ทำไมใหม่</td> </tr> <tr> <td align="left" height="20" valign="top"> &nbsp;</td> </tr> <tr> <td align="left" class="simple" valign="top"> <p> ๑. มีการบริหารและจัดแบ่งที่ดินแปลงเล็ก ออกเป็นสัดส่วนที่ชัดเจนเพื่อประโยชน์สูงสุดของเกษตรกร ซึ่ง<br /> ไม่เคยมีใครคิดมาก่อน</p> <p> ๒. มีการคำนวณโดยหลักวิชาการ เกี่ยวกับปริมาณน้ำที่จะกักเก็บให้พอเพียงต่อการเพาะปลูกได้ตลอดปี</p> <p> ๓. มีการวางแผนที่สมบูรณ์แบบ สำหรับเกษตรกรรายย่อย โดยมีถึง ๓ ขั้นตอน</p> </td> </tr> <tr> <td align="left" height="20" valign="top"> &nbsp;</td> </tr> <tr> <td align="left" valign="top"> &nbsp;</td> </tr> <tr> <td align="left" valign="top"> <span class="topic2">ทฤษฎีใหม่ขั้นต้น</span></td> </tr> <tr> <td align="left" height="20" valign="top"> &nbsp;</td> </tr> <tr> <td align="left" class="topic1" valign="top"> การจัดสรรพื้นที่อยู่อาศัยและที่ทำกิน<br /> <span class="simple">ให้แบ่งพื้นที่ ออกเป็น ๔ ส่วน ตามอัตราส่วน ๓๐:๓๐:๓๐:๑๐ ซึ่งหมายถึง</span></td> </tr> <tr> <td align="left" height="20" valign="top"> &nbsp;</td> </tr> <tr> <td align="left" class="simple" valign="top"> <p> - <span class="highlight1">พื้นที่ส่วนที่หนึ่ง ประมาณ ๓๐% ให้ขุดสระเก็บกักน้ำ เพื่อใช้เก็บกักน้ำฝนในฤดูฝน และใช้เสริมการ<br /> &nbsp;&nbsp;ปลูกพืชในฤดูแล้ง ตลอดจนการเลี้ยงสัตว์น้ำและพืชน้ำต่างๆ</span></p> <p> - <span class="highlight1">พื้นที่ส่วนที่สอง ประมาณ ๓๐% ให้ปลูกข้าวในฤดูฝน เพื่อใช้เป็นอาหารประจำวันสำหรับครอบครัวให้<br /> &nbsp;&nbsp;เพียงพอตลอดปี เพื่อตัดค่าใช้จ่ายและสามารถพึ่งตนเองได</span>้</p> <p> - <span class="highlight1">พื้นที่ส่วนที่สาม ประมาณ ๓๐% ให้ปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น พืชผัก พืชไร่ พืชสมุนไพร ฯลฯ เพื่อใช้เป็น<br /> &nbsp;&nbsp;อาหารประจำวัน หากเหลือบริโภคก็นำไปจำหน่าย</span></p> <p> - <span class="highlight1">พื้นที่ส่วนที่สี่ ประมาณ ๑๐% เป็นที่อยู่อาศัย เลี้ยงสัตว์และโรงเรือนอื่นๆ</span></p> </td> </tr> <tr> <td align="left" height="20" valign="top"> &nbsp;</td> </tr> <tr> <td align="left" class="topic1" valign="top"> หลักการและแนวทางสำคัญ</td> </tr> <tr> <td align="left" height="20" valign="top"> &nbsp;</td> </tr> <tr> <td align="left" class="simple" valign="top"> <p> ๑. เป็นระบบการผลิตแบบพอเพียง ที่เกษตรกรสามารถเลี้ยงตัวเองได้ในระดับที่ประหยัดก่อน ทั้งนี้ชุมชน<br /> ต้องมีความสามัคคี ร่วมมือร่วมใจในการช่วยเหลือซึ่งกันและกันทำนองเดียวกับการ 'ลงแขก' แบบดั้งเดิม<br /> เพื่อลดค่าใช้จ่าย</p> <p> ๒. เนื่องจากข้าวเป็นปัจจัยหลักที่ทุกครัวเรือนจะต้องบริโภค ดังนั้นจึงประมาณว่าครอบครัวหนึ่งทำนา ๕<br /> ไร่ จะทำให้มีข้าวพอกินตลอดปี โดยไม่ต้องซื้อหาในราคาแพง เพื่อยึดหลักพึ่งตนเองได้อย่างมีอิสรภาพ</p> <p> ๓. ต้องมีน้ำเพื่อการเพาะปลูกสำรองไว้ใช้ในฤดูแล้ง หรือระยะฝนทิ้งช่วงได้อย่างพอเพียง ดังนั้น จึง<br /> จำเป็นต้องกันที่ดินส่วนหนึ่งไว้ขุดสระน้ำโดยมีหลักว่าต้องมีน้ำเพียงพอที่จะทำการเพาะปลูกได้ตลอดปี<br /> ทั้งนี้ได้พระราชทานพระราชดำริเป็นแนวทางว่า ต้องมีน้ำ ๑,๐๐๐ ลูกบาศก์เมตร ต่อการเพาะปลูก ๑ ไร่<br /> ฉะนั้น เมื่อทำนา ๕ ไร่ ทำพืชไร่หรือไม้ผลอีก ๕ ไร่ (รวมเป็น ๑๐ ไร่) จะต้องมีน้ำ ๑๐,๐๐๐<br /> ลูกบาศก์เมตรต่อปี ดังนั้น หากมีพื้นที่ ๑๕ ไร่ จึงมีสูตรคร่าวๆ ว่า แต่ละแปลงประกอบด้วย<br /> <br /> - <span class="highlight1">นา ๕ ไร</span>่<br /> - <span class="highlight1">พืชไร่พืชสวน ๕ ไร</span>่<br /> - <span class="highlight1">สระน้ำ ๓ ไร่ ลึก ๔ เมตร จุประมาณ ๑๙,๐๐๐ ลูกบาศก์เมตร ซึ่งเป็นปริมาณน้ำที่เพียงพอที่จะสำรอง<br /> &nbsp;&nbsp;ไว้ใช้ยามฤดูแล้ง</span><br /> - <span class="highlight1">ที่อยู่อาศัยและอื่น ๆ ๒ ไร</span>่<br /> <br /> <span class="highlight1">รวมทั้งหมด ๑๕ ไร</span>่</p> <p> ๔. การจัดแบ่งแปลงที่ดินเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงคำนวณและคำนึง<br /> จากอัตราถือครองที่ดินถัวเฉลี่ยครัวเรือนละ ๑๕ ไร่ อย่างไรก็ตาม หากเกษตรกรมีพื้นที่ถือครองน้อยกว่า<br /> หรือมากกว่านี้ ก็สามารถใช้อัตราส่วน ๓๐:๓๐:๓๐:๑๐ ไปเป็นเกณฑ์ปรับใช้ได้ กล่าวคือ</p> <p> - <span class="highlight1">๓๐% ส่วนแรก ขุดสระน้ำ (สามารถเลี้ยงปลา ปลูกพืชน้ำ เช่น ผักบุ้ง ผักกะเฉด ฯลฯ ได้ด้วย)</span><br /> - <span class="highlight1">๓๐% ส่วนที่สอง ทำนา</span><br /> - <span class="highlight1">๓๐% ส่วนที่สาม ปลูกพืชไร่ พืชสวน (ไม้ผล ไม้ยืนต้น ไม้ใช้สอย ไม้สร้างบ้าน พืชไร่ พืชผัก<br /> &nbsp;&nbsp;สมุนไพร เป็นต้น)</span><br /> - <span class="highlight1">๑๐% สุดท้าย เป็นที่อยู่อาศัยและอื่นๆ (ถนน คันดิน กองฟาง ลานตาก กองปุ๋ยหมัก โรงเรือน<br /> &nbsp;&nbsp;โรงเพาะเห็ด คอกสัตว์ ไม้ดอกไม้ประดับ พืชผักสวนครัวหลังบ้าน เป็นต้น)</span></p> <p> อย่างไรก็ตาม อัตราส่วนดังกล่าวเป็นสูตรหรือหลักการโดยประมาณเท่านั้น สามารถปรับปรุงเปลี่ยนแปลง<br /> ได้ตามความเหมาะสมโดยขึ้นอยู่กับสภาพของพื้นที่ดิน ปริมาณน้ำฝนและสภาพแวดล้อม เช่น ในกรณี<br /> ภาคใต้ที่มีฝนตกชุกกว่าภาคอื่น หรือหากพื้นที่ที่มีแหล่งน้ำมาเติมสระได้ต่อเนื่อง ก็อาจลดขนาดของบ่อ<br /> หรือสระน้ำให้เล็กลง เพื่อเก็บพื้นที่ไว้ใช้ประโยชน์อื่นต่อไปได้</p> </td> </tr> <tr> <td align="left" height="20" valign="top"> &nbsp;</td> </tr> <tr> <td align="left" valign="top"> <span class="topic2">ทฤษฎีใหม่ขั้นก้าวหน้า</span></td> </tr> <tr> <td align="left" height="20" valign="top"> &nbsp;</td> </tr> <tr> <td align="left" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="540"> <tbody> <tr> <td align="left" valign="top" width="190"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="190"> <tbody> <tr> <td align="left" valign="top"> <img height="110" src="http://www.huaysaicenter.org/images/new_theory/new_theory2.jpg" width="170" /></td> </tr> </tbody> </table> </td> <td align="left" class="simple" valign="top" width="350"> เมื่อเกษตรกรเข้าใจในหลักการและได้ลงมือปฏิบัติได้ลงมือปฏิบัติ<br /> ตามขั้นที่หนึ่งในที่ดินของตนจนได้ผลแล้วฉะนั้น เกษตรกรก็จะ<br /> พัฒนาตนเองไปสู่ขั้นพออยู่พอกินเพื่อให้มีผลสมบูรณ์ยิ่งขึ้น จึงควรที่<br /> จะต้องดำเนินการตามขั้นที่สอง และขั้นที่สาม ต่อไปตามลำดับ ดังนี้</td> </tr> </tbody> </table> </td> </tr> <tr> <td align="left" height="20" valign="top"> &nbsp;</td> </tr> <tr> <td align="left" class="topic2" valign="top"> ทฤษฎีใหม่ขั้นที่สอง</td> </tr> <tr> <td align="left" height="20" valign="top"> &nbsp;</td> </tr> <tr> <td align="left" class="simple" valign="top"> <p> เมื่อเกษตรกรเข้าใจในหลักการและได้ปฏิบัติในที่ดินของตนจนได้ผลแล้ว ก็ต้องเริ่มขั้นที่สอง คือ ให้<br /> เกษตรกรรวมพลังกันในรูป กลุ่ม หรือ สหกรณ์ ร่วมแรง ร่วมใจกันดำเนินการในด้าน</p> <p> ๑. การผลิต (พันธุ์พืช เตรียมดิน ชลประทาน ฯลฯ)<br /> - <span class="highlight1">เกษตรกรจะต้องร่วมมือในการผลิตโดยเริ่มตั้งแต่ ขั้นเตรียมดิน การหาพันธุ์พืช ปุ๋ย การหาน้ำและอื่นๆ<br /> เพื่อการเพาะปลูก</span></p> <p> ๒. การตลาด (ลานตากข้าว ยุ้ง เครื่องสีข้าว การจำหน่ายผลผลิต)<br /> - <span class="highlight1">เมื่อมีผลผลิตแล้ว จะต้องเตรียมการต่างๆ เพื่อการขายผลผลิตให้ได้ประโยชน์สูงสุด เช่น การเตรียม<br /> ลานตากข้าวร่วมกัน การจัดหายุ้งรวบรวมข้าว เตรียมหาเครื่องสีข้าว ตลอดจนการรวมกันขายผลผลิต<br /> ให้ได้ราคาดี และลดค่าใช้จ่ายลงด้วย</span></p> <p> ๓. ความเป็นอยู่ (กะปิ น้ำปลา อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ฯลฯ)<br /> - <span class="highlight1">ในขณะเดียวกันเกษตรกรต้องมีความเป็นอยู่ที่ดีพอสมควร โดยมีปัจจัยพื้นฐานในการดำรงชีวิต เช่น<br /> อาหารการกินต่างๆ กะปิ น้ำปลา เสื้อผ้า ที่พอเพียง</span></p> <p> ๔. สวัสดิการ (สาธารณสุข เงินกู้)<br /> - <span class="highlight1">แต่ละชุมชนควรมีสวัสดิภาพและบริการที่จำเป็น เช่น มีสถานีอนามัยเมื่อยามป่วยไข้ หรือมีกองทุนไว้<br /> กู้ยืมเพื่อประโยชน์ในกิจกรรมต่าง ๆ ของชุมชน</span></p> <p> ๕. การศึกษา (โรงเรียน ทุนการศึกษา)<br /> - <span class="highlight1">ชุมชนควรมีบทบาทในการส่งเสริมการศึกษา เช่น มีกองทุนเพื่อการศึกษาเล่าเรียนให้แก่เยาวชนของ<br /> ชุมชนเอง</span></p> <p> ๖. สังคมและศาสนา<br /> - <span class="highlight1">ชุมชนควรเป็นที่รวมในการพัฒนาสังคมและจิตใจ โดยมีศาสนาเป็นที่ยึดเหนี่ยว</span></p> <p> กิจกรรมทั้งหมดดังกล่าวข้างต้น จะต้องได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าส่วนราชการ<br /> องค์กรเอกชน ตลอดจนสมาชิกในชุมชนนั้นเป็นสำคัญ</p> </td> </tr> <tr> <td align="left" height="20" valign="top"> &nbsp;</td> </tr> <tr> <td align="left" class="topic2" valign="top"> ทฤษฎีใหม่ขั้นที่สาม</td> </tr> <tr> <td align="left" height="20" valign="top"> &nbsp;</td> </tr> <tr> <td class="simple"> <p> เมื่อดำเนินการผ่านพ้นขั้นที่สองแล้ว เกษตรกรหรือกลุ่มเกษตรกรก็ควรพัฒนาก้าวหน้าไปสู่ขั้นที่สามต่อไป<br /> คือ ติดต่อประสานงาน เพื่อจัดหาทุน หรือแหล่งเงิน เช่น ธนาคาร หรือบริษัท ห้างร้านเอกชน มาช่วยใน<br /> การลงทุนและพัฒนาคุณภาพชีวิต</p> <p> ทั้งนี้ ทั้งฝ่ายเกษตรกรและฝ่ายธนาคารกับบริษัท จะได้รับประโยชน์ร่วมกัน กล่าวคือ<br /> <br /> - <span class="highlight1">เกษตรกรขายข้าวได้ในราคาสูง (ไม่ถูกกดราคา)</span><br /> <br /> - <span class="highlight1">ธนาคารกับบริษัทสามารถซื้อข้าวบริโภคในราคาต่ำ (ซื้อข้าวเปลือกตรงจากเกษตรกรและมาสีเอง)</span><br /> <br /> - <span class="highlight1">เกษตรกรซื้อเครื่องอุปโภคบริโภคได้ในราคาต่ำ เพราะรวมกันซื้อเป็นจำนวนมาก (เป็นร้านสหกรณ์<br /> ราคาขายส่ง)</span><br /> <br /> - <span class="highlight1">ธนาคารกับบริษัทจะสามารถกระจายบุคลากร (เพื่อไปดำเนินการในกิจกรรมต่างๆ ให้เกิดผลดียิ่งขึ้น)</span></p> </td> </tr> <tr> <td align="left" height="20" valign="top"> &nbsp;</td> </tr> <tr> <td align="left" valign="top"> <span class="topic2">ประโยชน์ของทฤษฎีใหม่</span></td> </tr> <tr> <td align="left" height="20" valign="top"> &nbsp;</td> </tr> <tr> <td align="left" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="540"> <tbody> <tr> <td align="left" valign="top" width="190"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="190"> <tbody> <tr> <td align="left" valign="top"> <img height="110" src="http://www.huaysaicenter.org/images/new_theory/new_theory3.jpg" width="170" /></td> </tr> </tbody> </table> </td> <td align="left" class="simple" valign="top" width="350"> <p> จากพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่ได้พระราชทาน<br /> ในโอกาสต่างๆ นั้น พอจะสรุปถึงประโยชน์ของทฤษฎีใหม่ได้ ดังนี้</p> <p> ๑. ให้ประชาชนพออยู่พอกินสมควรแก่อัตภาพในระดับที่ประหยัด<br /> ไม่อดอยาก และเลี้ยงตนเองได้</p> <p> ๒. ในหน้าแล้งมีน้ำน้อยก็สามารถเอาน้ำที่เก็บไว้ในสระ มาปลูกพืช</p> </td> </tr> </tbody> </table> </td> </tr> <tr> <td align="left" height="20" valign="top"> &nbsp;</td> </tr> <tr> <td align="left" class="simple" valign="top"> <p> ผักต่างๆ ได้ แม้แต่ข้าวก็ยังปลูกได้ โดยไม่ต้องเบียดเบียนชลประทาน</p> <p> ๓. ในปีที่ฝนตกตามฤดูกาลโดยมีน้ำดีตลอดปี ทฤษฎีใหม่นี้ก็สามารถสร้างรายได้ให้ร่ำรวยขึ้นได้</p> <p> ๔. ในกรณีที่เกิดอุทกภัยก็สามารถที่จะฟื้นตัว และช่วยตัวเองได้ในระดับหนึ่ง โดยทางราชการไม่ต้องช่วย<br /> เหลือมากเกินไป อันเป็นการประหยัดงบประมาณด้วย</p> </td> </tr> <tr> <td align="left" height="20" valign="top"> &nbsp;</td> </tr> <tr> <td align="left" class="topic2" valign="top"> ข้อสำคัญที่ควรพิจารณา</td> </tr> <tr> <td align="left" height="20" valign="top"> &nbsp;</td> </tr> <tr> <td align="left" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="540"> <tbody> <tr> <td align="left" class="simple" valign="top" width="350"> <p> ๑. การดำเนินการตามทฤษฎีใหม่นั้น มีปัจจัยประกอบหลายประการ<br /> ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมในแต่ละท้องถิ่น ฉะนั้นเกษตรกรควรขอรับ<br /> คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ด้วย</p> <p> ๒. การขุดสระน้ำนั้น จะต้องสามารถเก็บกักน้ำไดเพราะสภาพดินใน<br /> แต่ละท้องถิ่นแตกต่างกัน เช่น ดินร่วน ดินทราย ซึ่งเป็นดินที่ไม่<br /> สามารถอุ้มน้ำได้ หรือเป็นดินเปรี้ยว ดินเค็ม ซึ่งอาจจะไม่เหมาะกับ</p> </td> <td align="right" valign="top" width="190"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="190"> <tbody> <tr> <td align="right" valign="top"> <img height="110" src="http://www.huaysaicenter.org/images/new_theory/new_theory4.jpg" width="170" /></td> </tr> </tbody> </table> </td> </tr> </tbody> </table> </td> </tr> <tr> <td align="left" height="20" valign="top"> &nbsp;</td> </tr> <tr> <td align="left" class="simple" valign="top"> <p> พืชที่ปลูกได้ ฉะนั้น จะต้องพิจารณาให้ดีและควรขอรับคำแนะนำจากเจ้าหน้าที่พัฒนาที่ดิน หรือเจ้าหน้าที่<br /> หน่วยงานที่เกี่ยวข้องก่อน</p> <p> ๓. ขนาดของพื้นที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงคำนวณและคำนึงจากอัตราการถือครองที่ดิน<br /> ถัวเฉลี่ยครัวเรือนละ ๑๕ ไร่ แต่ให้พึงเข้าใจว่าอัตราส่วนเฉลี่ยขนาดพื้นที่นี้มิใช่หลักตายตัว หากพื้นที่การ<br /> ถือครองของเกษตรกรจะมีน้อยกว่าหรือมากกว่านี้ ก็สามารถนำอัตราส่วนนี้</p> </td> </tr> <tr> <td align="left" height="20" valign="top"> &nbsp;</td> </tr> <tr> <td align="left" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="540"> <tbody> <tr> <td align="left" valign="top" width="190"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="190"> <tbody> <tr> <td align="left" valign="top"> <img height="110" src="http://www.huaysaicenter.org/images/new_theory/new_theory5.jpg" width="170" /></td> </tr> </tbody> </table> </td> <td align="left" class="simple" valign="top" width="350"> <p> ๔. การปลูกพืชหลายชนิด เช่น ข้าวซึ่งเป็นพืชหลัก ไม้ผล พืชผัก<br /> พืชไร่ และพืชสมุนไพร อีกทั้งยังมีการเลี้ยงปลาหรือสัตว์อื่นๆ ซึ่ง<br /> เกษตรกรสามารถนำมาบริโภคได้ตลอดทั้งปี เป็นการลดค่าใช้จ่าย<br /> ในส่วนของอาหารสำหรับครอบครัวได้ และส่วนที่เหลือสามารถ<br /> จำหน่ายได้เป็นรายได้แก่ครอบครัวได้อีก</p> <p> ๕. ความร่วมมือร่วมใจของชุมชน จะเป็นกำลังสำคัญในการปฏิบัติ</p> </td> </tr> </tbody> </table> </td> </tr> <tr> <td align="left" height="20" valign="top"> &nbsp;</td> </tr> <tr> <td align="left" class="simple" valign="top"> <p> ตามหลักทฤษฎีใหม่ เช่น การลงแรงช่วยเหลือกัน หรือที่เรียกว่าการลงแขก นอกจากจะทำให้เกิดความ<br /> รักความสามัคคีในชุมชนแล้ว ยังเป็นการลดค่าใช้จ่ายในการจ้างแรงงานได้อีกด้วย</p> <p> ๖. ในระหว่างการขุดสระน้ำ จะมีดินที่ถูกขุดขึ้นมาเป็นจำนวนมาก หน้าดินซึ่งเป็นดินดีควรนำไปกองไว้<br /> ต่างหาก เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ในการปลูกพืชต่างๆ ในภายหลัง โดยนำมาเกลี่ยคลุมดินชั้นล่างที่เป็นดิน<br /> ไม่ดี ซึ่งอาจนำมาถมทำขอบสระน้ำหรือยกร่องสำหรับปลูกไม้ผล</p> <p class="topic1"> เงื่อนไขหรือปัญหาในการดำเนินงาน</p> <p> พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้มีพระราชดำรัสเมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๓๘<br /> ณ ศาลาดุสิดาลัย มีความตอนหนึ่ง ดังนี้</p> <p class="highlight1"> '...การทำทฤษฎีใหม่นี้มิใช่ของง่ายๆ แล้วแต่ที่ แล้วแต่โอกาสและแล้วแต่งบประมาณ เพราะว่าเดี๋ยวนี้<br /> ประชาชนทราบถึงทฤษฎีใหม่นี้กว้างขวางและแต่ละคนก็อยากได้ ให้ทางราชการขุดสระแล้วช่วย แต่มัน<br /> ไม่ใช่สิ่งง่ายนัก บางแห่งขุดแล้วไม่มีน้ำ แม้จะมีฝนน้ำก็อยู่ไม่ได้ เพราะว่ามันรั่ว หรือบางทีก็เป็นที่ที่รับน้ำ<br /> ไม่ได้ ทฤษฎีใหม่นี้จึงต้องมีพื้นที่ที่เหมาะสมด้วย...ฉะนั้น การที่ปฏิบัติตามทฤษฎีใหม่หรืออีกนัยหนึ่ง<br /> ปฏิบัติเพื่อหาน้ำให้แก่ราษฎร เป็นสิ่งที่ไม่ใช่ง่าย ต้องช่วยกันทำ...'</p> </td> </tr> <tr> <td align="left" height="20" valign="top"> &nbsp;</td> </tr> <tr> <td align="left" valign="top"> <span class="topic2">พืชที่ควรปลูกและสัตว์ที่ควรเลี้ยง</span></td> </tr> <tr> <td align="left" height="20" valign="top"> &nbsp;</td> </tr> <tr> <td align="left" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="540"> <tbody> <tr> <td align="left" class="simple" valign="top" width="350"> <p> <span class="topic1">ไม้ผลและผักยืนต้น</span><br /> มะม่วง มะพร้าว มะขาม ขนุน ละมุด ส้ม กล้วย น้อยหน่า มะละกอ<br /> กะท้อน แคบ้าน มะรุม สะเดา ขี้เหล็ก กระถิน เป็นต้น</p> <p> <span class="topic1">ผักล้มลุกและดอกไม้</span><br /> มันเทศ เผือก ถั่วฝักยาว มะเขือ มะลิ ดาวเรือง บานไม่รู้โรย รัก<br /> กุหลาบ และซ่อนกลิ่น เป็นต้น</p> </td> <td align="right" valign="top" width="190"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="190"> <tbody> <tr> <td align="right" valign="top"> <img height="110" src="http://www.huaysaicenter.org/images/new_theory/new_theory6.jpg" width="170" /></td> </tr> </tbody> </table> </td> </tr> </tbody> </table> </td> </tr> <tr> <td align="left" height="20" valign="top"> &nbsp;</td> </tr> <tr> <td align="left" class="simple" valign="top"> <p> <span class="topic1">สมุนไพรและเครื่องเทศ</span><br /> หมาก พลู พริกไทย บุก บัวบก มะเกลือ ชุมเห็ด หญ้าแฝก และพืชผักบางชนิด เช่น กระเพรา โหระพา<br /> สะระแหน่ แมงลัก และตะไคร้ เป็นต้น</p> <p> <span class="topic1">เห็ด</span><br /> เช่น เห็ดนางฟ้า เห็ดฟาง เห็ดเป๋าฮื้อ เป็นต้น</p> <p> <span class="topic1">ไม้ใช้สอยและเชื้อเพลิง</span><br /> ไผ่ มะพร้าว ตาล มะขามเทศ สะแก ทองหลาง จามจุรี กระถิน ยูคาลิบตัส สะเดา ขี้เหล็ก ประดู่ ชิงชัน<br /> และและยางนา เป็นต้น</p> <p> <span class="topic1">พืชไร่</span><br /> ข้าวโพด ถั่วเหลือง ถั่วลิสง ถั่วพุ่ม ถั่วมะแฮะ อ้อย มัน สำปะหลัง ละหุ่ง นุ่น เป็นต้น พืชไร่หลายชนิดอาจ<br /> เก็บเกี่ยวเมื่อผลผลิตยังสดอยู่ และจำหน่ายเป็นพืชประเภทผักได้และมีราคาดีกว่าเก็บเมื่อแก่ พืชไร่เหล่านี้<br /> ได้แก่ ข้าวโพด ถั่วเหลือง ถั่วลิสง ถั่วพุ่ม ถั่วมะแฮะ อ้อย</p> </td> </tr> <tr> <td align="left" height="20" valign="top"> &nbsp;</td> </tr> <tr> <td align="center" valign="top"> <img height="280" src="http://www.huaysaicenter.org/images/new_theory/new_theory7.gif" width="310" /></td> </tr> <tr> <td align="left" height="20" valign="top"> &nbsp;</td> </tr> <tr> <td align="left" class="simple" valign="top"> <p> จากภาพวงกลมเล็ก คือ สระน้ำที่เกษตรกรขุดขึ้นตามทฤษฎีใหม่ เมื่อเกิดช่วงขาดแคลนน้ำในฤดูแล้ง<br /> เกษตรกรสามารถสูบน้ำมาใช้ประโยชน์ได้ และหากน้ำในสระน้ำไม่เพียงพอก็ขอรับน้ำจากอ่างห้วยหินขาว<br /> (อ่างเล็ก) ซึ่งได้ทำระบบส่งน้ำเชื่อมต่อลงมายังสระน้ำที่ได้ขุดไว้ในแต่ละแปลงซึ่งจะช่วยให้สามารถมีน้ำ<br /> ใช้ตลอดปี</p> <p> กรณีที่เกษตรกรใช้น้ำกันมาก อ่างห้วยหินขาว (อ่างเล็ก) ก็อาจมีปริมาณน้ำไม่พอเพียง หากโครงการ<br /> พัฒนาลุ่มน้ำป่าสักหรือมีโครงการใหญ่ที่สมบูรณ์แล้ว ก็ใช้วิธีการผันน้ำจากป่าสัก คืออ่างใหญ่ ต่อลงมา<br /> ยังอ่างเก็บน้ำห้วยหินขาว (อ่างเล็ก) ก็จะช่วยให้มีปริมาณน้ำใช้มากพอตลอดปีสำหรับสระของเกษตรกร</p> </td> </tr> <tr> <td align="left" height="20" valign="top"> &nbsp;</td> </tr> <tr> <td align="center" class="topic2" valign="top"> <p> ภาคผนวก</p> <p class="topic2"> ข้อควรทำและไม่ควรทำ</p> </td> </tr> <tr> <td align="left" height="20" valign="top"> &nbsp;</td> </tr> <tr> <td align="center" valign="top"> <table border="3" cellpadding="5" cellspacing="0" width="500"> <tbody> <tr> <td align="center" bgcolor="#DBD5C5" valign="middle" width="236"> <span class="topic1">ควรทำ</span></td> <td align="center" bgcolor="#DBD5C5" class="topic1" valign="middle" width="236"> ไม่ควรทำ</td> </tr> <tr> <td align="left" bgcolor="#FEF4DA" class="highlight1" valign="top"> ๑. ปรับอัตราส่วนที่กำหนดไว้ ให้เหมาะสมกับ<br /> พื้นที่ และสภาพแวดล้อม (๓๐:๓๐:๓๐:๑๐)</td> <td align="left" bgcolor="#FEF4DA" class="simple" valign="top"> <span class="highlight1">๑. อย่าคิดว่าถ้ามีพื้นที่เกษตรน้อยกว่าหรือ<br /> มากกว่า ๑๕ ไร่ จะทำทฤษฎีใหม่ไม่ได</span>้</td> </tr> <tr> <td align="left" bgcolor="#F6F2E0" class="highlight1" valign="top"> ๒. ต้องปลูกข้าวให้เพียงพอต่อการบริโภคใน<br /> ครัวเรือนตลอดทั้งปี</td> <td align="left" bgcolor="#F6F2E0" class="simple" valign="top"> <span class="highlight1">๒. ไม่ควรเสียดายที่ดินส่วนหนึ่งที่จะต้องนำ<br /> มาขุดเป็นสระน้ำ และถ้ามีสระน้ำอยู่แล้วไม่<br /> จำเป็นต้องขุดสระใหม่ เพียงแต่ปรับปรุงให้<br /> สามารถเก็บกักน้ำได</span>้</td> </tr> <tr> <td align="left" bgcolor="#FEF4DA" class="simple" valign="top"> <span class="highlight1">๓. ควรศึกษาสภาพดินก่อนดำเนินการขุดสระ<br /> ว่าจะสามารถเก็บกักน้ำได้หรือไม่ โดยปรึกษา<br /> กับเจ้าหน้าท</span>ี่</td> <td align="left" bgcolor="#FEF4DA" class="highlight1" valign="top"> ๓. อย่าทำลายหน้าดินที่มีความอุดมสมบูรณ์<br /> ในขณะขุดสระน้ำ</td> </tr> <tr> <td align="left" bgcolor="#F6F2E0" class="highlight1" valign="top"> ๔. ควรนำหน้าดินจากการขุดสระน้ำ ไปถมไว้<br /> ในบริเวณที่จะทำการเพาะปลูก</td> <td align="left" bgcolor="#F6F2E0" class="highlight1" valign="top"> ๔. ไม่ควรปลูกพืชหรือไม้ยืนต้นที่ต้องการน้ำ<br /> มากบริเวณคันขอบสระน้ำ</td> </tr> <tr> <td align="left" bgcolor="#FEF4DA" class="highlight1" valign="top"> ๕. ควรปลูกผักสวนครัว พืชสมุนไพร บริเวณ<br /> ที่ว่างรอบบ้าน เพื่อลดค่าใช้จ่ายด้านอาหารใน<br /> ครัวเรือน</td> <td align="left" bgcolor="#FEF4DA" class="highlight1" valign="top"> ๕. ไม่ควรปลูกพืชเพียงชนิดเดียว</td> </tr> <tr> <td align="left" bgcolor="#F6F2E0" class="highlight1" valign="top"> ๖. ควรเลี้ยงสัตว์ที่เกื้อกูลต่อกันและกัน เช่น<br /> ไก่ เป็ด หรือหมู บริเวณขอบสระน้ำ หรือ<br /> บริเวณบ้าน</td> <td align="left" bgcolor="#F6F2E0" class="highlight1" valign="top"> ๖. หากดำเนินการด้านการเกษตรกรรมอื่นใด<br /> ได้ผลอยู่แล้ว ไม่ควรปรับเปลี่ยนมาทำทฤษฎี<br /> ใหม่ เพราะไม่จำเป็น</td> </tr> <tr> <td align="left" bgcolor="#FEF4DA" class="highlight1" valign="top"> ๗. ควรเลี้ยงปลาในสระน้ำ เพื่อการบริโภค<br /> อาหารโปรตีนแล้ว และยังสามารถขายเป็น<br /> รายได้เสริมของครอบครัวอีกด้วย</td> <td align="left" bgcolor="#FEF4DA" class="highlight1" valign="top"> ๗. หากสภาพภูมิประเทศไม่เหมาะสม ทำ<br /> ทฤษฎีใหม่ไม่ได้ ก็ต้องหาหนทางอื่นที่เหมาะ<br /> สมต่อไป</td> </tr> <tr> <td align="left" bgcolor="#F6F2E0" class="highlight1" valign="top"> ๘. ควรปลูกหญ้าแฝกเพื่อป้องกันการพัง<br /> ทลายรอบคันขอบสระน้ำ</td> <td align="left" bgcolor="#F6F2E0" class="highlight1" valign="top"> ๘. อย่าท้อถอยและเกียจคร้าน</td> </tr> <tr> <td align="left" bgcolor="#FEF4DA" valign="top"> <span class="highlight1">๙. ควรมีความสามัคคีในท้องถิ่น โดยช่วยกัน<br /> ทำแบบ 'ลงแขก' จะทำให้ประสบผลสำเร็จ</span></td> <td align="left" bgcolor="#FEF4DA" valign="top"> &nbsp;</td> </tr> <tr> <td align="left" bgcolor="#F6F2E0" class="highlight1" valign="top"> ๑๐. ควรปรึกษาเจ้าหน้าที่จากกรมพัฒนาที่ดิน<br /> กรมวิชาการเกษตร กรมชลประทาน กรมส่ง<br /> เสริมการเกษตร ตลอดจนนายอำเภอ เกษตร<br /> อำเภอ เกษตรตำบล และเจ้าหน้าที่อื่นๆ ที่<br /> เกี่ยวข้อง</td> <td align="left" bgcolor="#F6F2E0" valign="top"> &nbsp;</td> </tr> </tbody> </table> </td> </tr> <tr> <td align="left" height="20" valign="top"> &nbsp;</td> </tr> </tbody> </table> ที่มา http://www.huaysaicenter.org/new_theory.php Thu, 28 Jun 2012 13:00:00 +0700